กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพจิตดีไม่มีโรคซึมเศร้า
รหัสโครงการ 63-L5298-02-014
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ กลุ่ม อสม.หมู่ที่ 7
วันที่อนุมัติ 5 มีนาคม 2563
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ตุลาคม 2562 - 30 กันยายน 2563
กำหนดวันส่งรายงาน 30 ตุลาคม 2563
งบประมาณ 13,730.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ น.ส.ฮับส๊ะ อาดำ ประธาน อสม.หมู่ที่ 7
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลเกตรี อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
ละติจูด-ลองจิจูด 6.702,100.095place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 10 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มวัยทำงาน 40 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มผู้สูงอายุ 10 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้สูงอายุ :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 จำนวนประชาชนที่มีภาวะเสี่ยงต่อพฤติกรรมด้านสุขภาพจิต
70.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

โรคซึมเศร้า นับเป็นโรคหนึ่งที่สร้างความทุกข์ใจให้กับผู้ป่วย เพราะเมื่อเกิดขึ้นแล้ว จะทำให้หมดกำลังใจ ท้อแท้ในชีวิต ส่งผลให้ประสิทธิภาพในการเรียนและการทำงานลดลงอย่างชัดเจน คนส่วนใหญ่จะเกิดความเครียดในทุกๆ ด้านไม่ว่าจะเป็นด้านสังคม ด้านเศรษฐกิจ ด้านครอบครัว และอื่นๆ เมื่อมีความเครียดเกิดขึ้นก็จะทำให้เกิดเป็นโรคซึมเศร้า ซึ่งเป็นภัยเงียบที่สามารถเกิดขึ้นได้กับทุกเพศทุกวัย       ปัจจุบันคนในชุมชนตำบลเกตรี พบปัญหาด้านต่างๆ เช่นด้านเศรษฐกิจ ประชาชนมีรายได้ไม่เพียงพอกับค่าใช้จ่ายในครัวเรือน ด้านสุขภาพ บางครอบครัวมีปัญหาด้านสุขภาพของตัวเองหรือของคนในครอบครัว ส่งผลให้เกิดภาวะเครียดและอาจนำไปสู่ภาวะซึมเศร้า บางรายอาจการทำร้ายตนเองและผู้อื่นได้ สิ่งเหล่านี้ล้วนเป็นปัจจัยสำคัญที่ส่งผลกระทบต่อจิตใจคนในชุมชนทั้งสิ้น และหากคนในชุมชนไม่ได้รับการดูแลเอาใจใส่จากบุคคลใกล้ชิดด้วยแล้วจะยิ่งส่งเสริมให้คนในชุมชนมีภาวะซึมเศร้าได้ สำหรับพื้นที่หมู่ที่ 7 มีบุคคลที่มีอาการทางจิตเวชทั้งหมด จำนวน 15 ราย โดยแยกผู้ป่วยประเภทจิตเวชจากสารเสพติดจำนวน 5 ราย ผู้ป่วยจิตเวชทางกายจำนวน 3 รายและผู้ป่วยที่มีภาวะซึมเศร้าจำนวน 7 ราย ที่สำคัญเคยมีบุคคลเสียชีวิตโดยการฆ่าตัวตายสำเร็จมาแล้วจำนวน 1 ราย
    ดังนั้น อสม. หมู่ที่ 7 เล็งเห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงจัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพจิตดีไม่มีโรคซึมเศร้าเพื่อป้องกันและแนะนำการปฏิบัติตนให้ห่างไกลจากโรคเครียดและซึมเศร้า

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 60 13,730.00 1 13,730.00
28 มิ.ย. 63 อบรมส่งเสริมสุขภาพจิตดีไม่มีโรคซึมเศร้า 60 13,730.00 13,730.00

ขั้นเตรียมการ 1. เสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ 2. ประชุมชี้แจงและวางแผนกการดำเนินโครงการ 3. เตรียมและจัดหาวัสดุอุปกรณ์ สถานที่ และกลุ่มเป้าหมาย       ขั้นดำเนินการ 1. จัดอบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมาย 2. กลุ่มเป้าหมายประเมินคัดกรองภาวะซึมเสร้าด้วยตัวเองผ่านแบบคัดกรองของกรมสุขภาพจิต       ขั้นประเมินผล 1. กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1 คนในชุมชนสุขภาพจิตดีขึ้น 2 คนในชุมชนเข้าใจและป้องกันโรคซึมเศร้าให้กับตัวเองได้ 3 กลุ่มเป้าหมายสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อป้องกันโรคเครียดและซึมเศร้าได้

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 14 มี.ค. 2563 14:27 น.