กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ นักเรียนวัยใส อนามัยดี ไม่มีเหา
รหัสโครงการ 63-L5272-2-03
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงเรียนวัดชลธารประสิทธิ์
วันที่อนุมัติ 27 ธันวาคม 2562
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 13 มกราคม 2563 - 30 กันยายน 2563
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 5,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ น.ส.วนัสนันทน์ แก้ววงศ์ศรี
พี่เลี้ยงโครงการ คุณดวงใจ อ่อนแก้ว
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลคูเต่า อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด 7.133,100.481place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานสุรา , แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 22 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

ระบุ

กลุ่มวัยทำงาน 22 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

เหา มีชื่อเรียกทางวิทยาศาสตร์ว่า Pediculus humanus เป็นแมลงในกลุ่มปรสิต อาศัยอยู่บนร่างกายคนและดำรงชีวิตต้วยการกินขี้ไคลบนหนังศีรษะ เหามีมากกว่า 3,000 ชนิด สามารถแพร่กระจายจากคนสู่คนได้ โดยการอยู่ใกล้ชิดและคลุกคลีกับผู้ที่เป็นโรคเหา จึงทำให้ผู้ที่เป็นโรคเหานั้นก็มักจะถูกสังคมรังเกียจ ซึ่งอาการที่มักจะพบไ้จากคนที่เป็นเหาก็คืออาการคันและเป็นแผลติดเชื้อบนหนังศีรษะ อันเนื่องมาจากการระคายเคือง นอกจากนี้เหายังชอบวางไข่เอาไว้ตามเส้นผม ทำให้เห็นเป็นจุดขาวๆบนเส้นผม ติดแน่นไม่หลุ แม้ว่าจะหายเป็นเหาแล้ว

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับโรคเหาและการดูแลรักษาสุขอนามัยของนักเรียน

 

0.00
2 เพื่อรักษา ป้องกัน และแก้ไขการแพร่ระบาดของโรคเหาในนักเรียน

 

0.00
3 เพื่อให้นักเรียนมีบุคลิกภาพและคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น

 

0.00
4 เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจให้แก่ผู้ปกครองไ้นำไปปฏิบัติ

 

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม

1.ให้ความรู้เรื่องเหาและการกำจัเหาแก่นักเรียนและผู้ปกครองโดยวิทยากร 2.กำจัดเหาให้นักเรียนติดต่อกันจำนวน 2 ครั้ง ห่างกัน 1 สัปดาห์ 3.แนะนำให้ผู้ปกครองดูแล ติดตามการกำจัดเหาอย่างต่อเนื่อง 4.ประเมินและสรุปผลการดำเนินการ

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.นักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับโรคเหาและสามารถดูแลรักษาสุขอนามัยของตนเองได้ 2.นักเรียนได้รับการกำจัดเหา 3.นักเรียนมีบุคลิกภาพและคุณภาพชีวิตที่ีขึ้น 4.ผู้ปกครองไ้นำไปปฏิบัติในชีวิตประจำวัน

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 16 มี.ค. 2563 10:06 น.