กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก


“ โครงการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคด้วยวัคซีนและส่งเสริมพัฒนาการในเด็กอายุ 0 - 5 ปี ประจำปี 2563 ”

ตำบลสะเตงนอก อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางสปีเนาะ กะโด

ชื่อโครงการ โครงการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคด้วยวัคซีนและส่งเสริมพัฒนาการในเด็กอายุ 0 - 5 ปี ประจำปี 2563

ที่อยู่ ตำบลสะเตงนอก อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 19/2563

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 มีนาคม 2563 ถึง 31 มีนาคม 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคด้วยวัคซีนและส่งเสริมพัฒนาการในเด็กอายุ 0 - 5 ปี ประจำปี 2563 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสะเตงนอก อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคด้วยวัคซีนและส่งเสริมพัฒนาการในเด็กอายุ 0 - 5 ปี ประจำปี 2563



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคด้วยวัคซีนและส่งเสริมพัฒนาการในเด็กอายุ 0 - 5 ปี ประจำปี 2563 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสะเตงนอก อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 มีนาคม 2563 - 31 มีนาคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 28,150.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

งานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค เป็นงานที่มีความสำคัญในการที่จะช่วยป้องกันการเกิดโรคและส่งเสริมสุขภาพพื้นฐานให้แก่ประชาชน ทำให้มีภูมิคุ้มกันต่อโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน ช่วยลดการสูญเสีย ทางเศรษฐกิจของประเทศทั้งทางทรัพยากรบุคคลและภาระค่าใช้จ่ายต่างๆ ในการดูแลรักษาผู้ป่วย  ควบคุมการกระจายของโรค โรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนอาจเกิดการระบาดได้ เป็นเครื่องป้องกันที่ช่วยให้เด็กๆปลอดภัยจากโรคร้ายที่มากล้ำกรายโดยเฉพาะอย่างยิ่งเด็กวัยขวบปีแรกที่มีอัตราเสี่ยงสูงในการต่อต้านเชื้อโรคที่เข้าสู่ร่างกายการรับวัคซีนเพื่อสร้างภูมิต้านทานเป็นวิธีที่ง่ายดายปลอดภัยและมีประสิทธิภาพในการป้องกันเด็กจากโรคบางอย่างความเสี่ยงจากโรคเหล่านั้นมากมายหลายเท่าเพื่อให้ได้รับภูมิต้านทานที่ครบถ้วนเด็กจะต้องได้รับวัคซีนตามเกณฑ์อายุทั้งหมดและควรได้รับตรงเวลาอีกด้วย เนื่องจากหลายปีที่ผ่านมาได้เกิดโรค ที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนขึ้นในพื้นที่ เช่น โรคหัด และพบว่าที่ป่วยเป็นโรคส่วนใหญ่ ไม่ได้รับการฉีดวัคซีน  ตามเกณฑ์ ถ้าไม่สามารถให้วัคซีนได้ครอบคลุมเพียงพอ หรือให้ไม่ครบตามจำนวนครั้งที่กำหนด ภูมิคุ้มกัน  ที่สร้างจากวัคซีนมีระดับลดลง เมื่อเวลาผ่านไป ต้องได้รับการกระตุ้นซ้ำ และประสิทธิภาพของวัคซีนลดลงได้จากปัจจัยต่างๆ เช่น การเก็บรักษาวัคซีนไม่ได้มาตรฐาน เทคนิคการให้บริการหรือการฉีดวัคซีน เช่น ฉีดลึก หรือตื้นเกินไป เป็นต้น
จากการสำรวจเด็กในพื้นที่ ในส่วนของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสะเตงนอก พบเด็กอายุ 0 - 5 ปี ในปีงบประมาณ 2563 จำนวน 1,002 คน แบ่งเป็นเด็กที่ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์อายุ จำนวน 879 คน คิดเป็นร้อยละ 87.73 ได้รับวัคซีนช้ากว่าเกณฑ์อายุ 91 คน คิดเป็นร้อยละ 11.08 เด็กที่ไม่ยินยอมมารับวัคซีนหรือบ่ายเบี่ยงการรับวัคซีน 32 คน คิดเป็นร้อยละ 3.20 ซึ่งพบว่ายังเป็นปัญหาในการดูแลสุขภาพของเด็ก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสะเตงนอก อำเภอเมือง จังหวัดยะลา ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญและความจำเป็นในการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค จึงจัดทำโครงการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคด้วยวัคซีนในเด็ก 0-5 ปี เพื่อให้การพัฒนางานสาธารณสุขของ ตำบลสะเตงนอก มีความสอดคล้องกับสภาพปัญหาและแนวโน้มสุขภาพอนามัยอันจะก่อให้เกิดการพัฒนาในด้านอื่นๆ อย่างต่อเนื่องต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1 เพื่อเพิ่มความครอบคลุมการได้รับวัคซีนให้ครบตามเกณฑ์
  2. 2 เพื่อให้ผู้ปกครองตระหนัก และเห็นความสำคัญในการฉีดวัคซีนตามเกณฑ์และการได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์
  3. 3 เพื่อส่งเสริมพัฒนาการที่สมวัยให้แก่เด็ก 0-5 ปี
  4. 4 เพื่อลดอัตราการป่วย-ตายในโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 1 จัดประชุส่งเสริมความรู้แก่ผู้ปกครองเรื่องสร้างเสริมภูมิคุ้มโรคในเด็ก
  2. กิจกรรมที่ 2 สร้างแรงจูงใจ แก่เด็กที่มาฉีดวัคซีน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 180
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 70
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1 ผู้ปกครองตระหนักและเห็นความสำคัญในการให้เด็กได้รับวัคซีนตามเกณฑ์ 2 เด็กอายุ 0-5 ปี ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์ ร้อยละ 95


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมที่ 1 จัดประชุส่งเสริมความรู้แก่ผู้ปกครองเรื่องสร้างเสริมภูมิคุ้มโรคในเด็ก

วันที่ 12 พฤศจิกายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

.

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

.

 

70 0

2. กิจกรรมที่ 2 สร้างแรงจูงใจ แก่เด็กที่มาฉีดวัคซีน

วันที่ 12 พฤศจิกายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

.

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

.

 

180 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

จากการจัดทำโครงการ พบว่าเด็กที่อายุครบ 0- 5 ปี จำนวนทั้งมด 1,002 คน เด็กที่ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์เดิม จำนวน 955 คน ทั้งนี้ที่ติดตามในโครงการที่ได้รับการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคโดยการฉีดวัคซีนที่สถานบริการคิดเป็นร้อยละ 95.3 ได้รับวัคซีนช้ากว่าเกณฑ์อายุ 41 คน คิดเป็นร้อยละ 3.9 เด็กที่ไม่ยินยอมมารับวัคซีนหรือบ่ายเบี่ยงการรับวัคซีน 7 คน คิดเป็นร้อยละ 0.6 ซึ่งในปี 2563 ทางรพ.สต.สะเตงนอก ได้มีการจัดโครงการติดตามเด็กที่ได้รับวัคซีนไม่ครบตามเกณฑ์และมรการมอบชุดพัฒนาการให้กับเด็กที่มารับวัคซีนตามเกณฑ์เพื่อเป็นขวัญและกำลังใจให้กับเด็กอีกด้วย จากกิจกรรมดังกล่าวผลจากการทำกิจกรรม เด็กที่มี อายุ 0 - 5 ปี ได้มีการมารับวัคซีนต่อเนื่องที่คลันิคเด็กดี เพิ่มขึ้นจากเดิม คิดเป็นร้อยละ 95 ส่วนจำนวนเด็กที่เหลือ ทั้งนี้ส่วนใหญ่เป็นเด็กที่ไปรับบริการฉีดวัคซีนที่สถานบริการอื่น เด็กไม่ได้อยู่กับครอบครัว ย้ายถิ่นบ่อยและเด็กที่ไม่อยู่ในพื้นที่ ดังนั้นทางรพ สต จึงจำเป็นจะต้องดำเนินการติดจาม ค้นหาเด็กตามกลุ่มเป้าหมายให้มารับการฉัดวัคซีนทุกคนเพื่อการป้องกันโรคที่อาจจะเกิดขึ้นกับประชากรกลุ่มอายุดังกล่าวไปอนาคตต่อไป

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1 เพื่อเพิ่มความครอบคลุมการได้รับวัคซีนให้ครบตามเกณฑ์
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 2 เพื่อให้ผู้ปกครองตระหนัก และเห็นความสำคัญในการฉีดวัคซีนตามเกณฑ์และการได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 3 เพื่อส่งเสริมพัฒนาการที่สมวัยให้แก่เด็ก 0-5 ปี
ตัวชี้วัด :
0.00

 

4 4 เพื่อลดอัตราการป่วย-ตายในโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 250
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 180
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 70
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1 เพื่อเพิ่มความครอบคลุมการได้รับวัคซีนให้ครบตามเกณฑ์ (2) 2 เพื่อให้ผู้ปกครองตระหนัก และเห็นความสำคัญในการฉีดวัคซีนตามเกณฑ์และการได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์ (3) 3 เพื่อส่งเสริมพัฒนาการที่สมวัยให้แก่เด็ก 0-5 ปี (4) 4 เพื่อลดอัตราการป่วย-ตายในโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 จัดประชุส่งเสริมความรู้แก่ผู้ปกครองเรื่องสร้างเสริมภูมิคุ้มโรคในเด็ก (2) กิจกรรมที่ 2 สร้างแรงจูงใจ แก่เด็กที่มาฉีดวัคซีน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคด้วยวัคซีนและส่งเสริมพัฒนาการในเด็กอายุ 0 - 5 ปี ประจำปี 2563 จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสปีเนาะ กะโด )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด