กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งหว้า


“ โครงการอบรมความรู้เรื่องการใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล ”

ตำบลทุ่งหว้า อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
1.นางนูรมา หลังเถาะ 2.ฟาตีม๊ะ หีมปอง 3.นายดุสิตขุนยยะระ 4. นายวิเศษ ขาวดี 5.นางณัฐณิชา ยีกาเดี๊ยะ

ชื่อโครงการ โครงการอบรมความรู้เรื่องการใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล

ที่อยู่ ตำบลทุ่งหว้า อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 63-L8009-02-04 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 5 มีนาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอบรมความรู้เรื่องการใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งหว้า อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งหว้า ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมความรู้เรื่องการใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอบรมความรู้เรื่องการใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งหว้า อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 63-L8009-02-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 5 มีนาคม 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,270.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งหว้า เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันสาธารณสุขของประเทศไทยต้องพบเจอกับปัญหาการใช้ยาอย่างไม่สมเหตสมผลมาหลายทศวรรษซึ่งก่อให้เกิดผลเสียต่อตัวผู้ป่วยและก่อให้เกิดปัญหาต่อประเทศชาติเนื่องด้วยการใช้ยาอย่างไม่สมเหตสมผลนั้นอาจนำไปสู่ความล้มเหลวทางด้านการรักษาหรืออาจรักษาหรืออาจให้เกิดอาการไม่พึงประสงค์กับตัวยาที่ใช้กับผู้ป่วย เช่นการเกิดเชื้อดื้อยาที่เพิ่มสูงขึ้นในผู้ป่วย และปัญหาต่อประเทศชาติในการสูญเสียงบประมาณของประเทศชาติจากการใช้ยาเกินความจำเป็น ซึ่งสำหรับประเทศไทย พบว่ามูลค่าการบริโภคของคนไทยสูงขึ้นถึง 1.4 เเสนล้านบาทโดยในจำนวนนี้เป็นจำนวนนี่เป็นผู้ป่วยที่ใช้ยาเกินความจำเป็น 2,370 ล้านบาท และกลุ่มการใช้ยาอย่างมีข้อสงสัยต่อประสิทธิภาพอีก4,000 ล้านบาท อีกทั้งจากการสำรวจพบว่าปัญหาจากการใช้ยาไม่สมเหตุสมผลนั้นเกิดขึ้นในทุกระดับหน่วยการให้บริการตั้งแต่ระดับสถานพยาบาลถึงระดับชุมชน และระดับองค์การอนามัยโลกได้ระบุว่า ทั่วโลกมีการใช้ยาอย่างไม่สมเหตุสมผลมากกว่าร้อยละ 50 ของการใช้ยา โดยปัญหาการใช้ยาอย่างไม่สมเหตสมผลนั้นอาจเกิดได้จากทั้งผู้ให้บริการในการจ่ายยาและจากการคาดหวังที่จะได้รับยาปฏิชีวนะโดยตรงจากตัวผู้ป่วยเอง เนื่องจากผู้รับบริการอาจมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับยาปฏิชีวนะไม่เพียงพอ เช่น ผู้รับบริการเข้าใจว่ายาปฏิชีวนะมีความเข้าใจว่ายาปฏิชีวนะมีความจำเป็นต่อการรักษาความเจ็บป่วยความรวดเร็วในการทุเลาของอาการหรือแม้เเต่ประสบการณ์เคยได้รับยาปฏิชีวนะจากอาการที่คล้ายกันจากครั้งเดียวก่อนๆ ดังนั้น กระทรวงสาธารณสุขจึงได้มีการกำหนดและดำเนินการยุทธศาสตร์ การพัฒนาระบบยาแห่งชาติ ว่าด้วยยุทธศาสตร์การใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล โดยระบุในยุทธศาสตร์ว่า การใช้ยาโดยแพทย์ บุคลากรทางด้านสาธารณสุขและประชาชนต้อเป็นไปอย่างเหมาะสมถูกต้องและคุ้มค่า เพื่อลดปัญหาการใช้ยาไม่สมเหตสมผล ตามคำจำกัดความขององค์การอนามัยโลกที่ว่า การใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล(Rational drug use RDU) คือ ผู้ป่วยได้รับยาที่เหมาะสมและมีค่าใช้จ่ายต่อชุมชนต่อผู้ป่วยน้อยที่สุด
  ดังนั้น ทางชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขเทศบาลตำบลทุ่งหว้า จึงเล็งเห็นถึงความสำคัญของการสร้างองค์ความรู้ ความตระหนัก และความความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล ทั้งในผู้ปฏิบัติงานด้านสุขปฏิบัติงานด้านสุขภาพและประชาชน รวมทั้งการให้ความรู้เกี่ยวกับการใช้แพทย์ทางเลือก การดูแลสุขภาพของตัวเองและเพื่อส่งเสริมสนับสนุนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบยาแห่งชาติ การใช้ยาอย่างสมเหตสมผลและป้องกันการเกิดอาการไม่พึงประสงค์จากตัวยาหรือโอกาสการป่วยจากการเกิดเชื้อดื้อยาแก่ประชาชนจึงจัดโครงการอบรมความรู้การใช้ยาอย่างสมเหตุสมผลเพื่อให้อสม.และแกนนำในชุมชนสามารถนำความรู้ที่ไๆด้รับจากการอบรมไปปรับใช้ในการดูแลสุขภาพของตนเอง ครอบครัวในเขตรับผิดชอบและคนในชุมชนพร้อมทั้งมีองค์ความรู้เพื่อเผยแพร่ได้อย่างถูกต้องเหมาะสม

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อส่งเสริมให้ อสม.แกนนำในชุมชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้ยาอย่างฃสมเหตสมผล
  2. 2.เพื่อส่งเสริมให้ อสม. แกนนำในชุมชนสามารถเลือกใช้บริการแพทย์ทางเลือกและเเนวทางการดูแลตัเองจากการเจ็บป่วยเพิ่มมากขึ้น
  3. 3.เพื่อลดอัตราการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างไม่สมเหตสมผลในชุมชน
  4. 4.เพื่อป้องกันการเกิดเชื้อดื้อยาและโอกาสการป่วยจากเชื้อดื้อยาแก่คนในชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. โครงการอรมความรู้เรื่องการใช้ยาอย่างสมเหตสมผล

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 82
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้เข้าร่วมโครงการ มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้ยาอย่างไม่สมเหตุสมผล 2.ผู้เข้าร่วมโครงการ มีความรู้ในการเลือกใช้เเพทย์ทางเลือกและเเนวทางการโุแลตัวเอง 3.อัตราการใช้ยาและการจ่ายยาอย่างไม่สมเหตุสมผลลดลง 4.ผู้เข้าร่วมโครงการ มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับอาการไม่พึงประสงค์และการเกิดเชื้อดื้อยาจากการใช้ยาอย่างไม่สมเหตุสมผล


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อส่งเสริมให้ อสม.แกนนำในชุมชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้ยาอย่างฃสมเหตสมผล
ตัวชี้วัด : 1.กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้ยาอย่างสมเหตสมผลเพิ่มมากขึ้นรอย่างน้อย ร้อยละ 70
0.00

 

2 2.เพื่อส่งเสริมให้ อสม. แกนนำในชุมชนสามารถเลือกใช้บริการแพทย์ทางเลือกและเเนวทางการดูแลตัเองจากการเจ็บป่วยเพิ่มมากขึ้น
ตัวชี้วัด : 2.กลุ่มเป้าหมายมีการเลือกใช้บริการแพทย์ทางเลือกเพิ่มมากขึ้น ร้อยละ 50
0.00

 

3 3.เพื่อลดอัตราการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างไม่สมเหตสมผลในชุมชน
ตัวชี้วัด : 3.อัตราการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างไม่สมเหตุสมผลลดลงร้อยละ 20
0.00

 

4 4.เพื่อป้องกันการเกิดเชื้อดื้อยาและโอกาสการป่วยจากเชื้อดื้อยาแก่คนในชุมชน
ตัวชี้วัด : ไม่มีการเกิดเชื้อดื้อยาและโอกาสป่วยจากเชื้อดื้อยาแก่คนในชุมชน
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 82
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 82
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อส่งเสริมให้ อสม.แกนนำในชุมชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้ยาอย่างฃสมเหตสมผล (2) 2.เพื่อส่งเสริมให้ อสม. แกนนำในชุมชนสามารถเลือกใช้บริการแพทย์ทางเลือกและเเนวทางการดูแลตัเองจากการเจ็บป่วยเพิ่มมากขึ้น (3) 3.เพื่อลดอัตราการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างไม่สมเหตสมผลในชุมชน (4) 4.เพื่อป้องกันการเกิดเชื้อดื้อยาและโอกาสการป่วยจากเชื้อดื้อยาแก่คนในชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) โครงการอรมความรู้เรื่องการใช้ยาอย่างสมเหตสมผล

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการอบรมความรู้เรื่องการใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 63-L8009-02-04

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( 1.นางนูรมา หลังเถาะ 2.ฟาตีม๊ะ หีมปอง 3.นายดุสิตขุนยยะระ 4. นายวิเศษ ขาวดี 5.นางณัฐณิชา ยีกาเดี๊ยะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด