โครงการพลังคนไทยร่วมใจป้องกันไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการพลังคนไทยร่วมใจป้องกันไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ”
ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นางสาวอัสมา สันเจริญ ตำแหน่ง นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเหลียน
มีนาคม 2563
ชื่อโครงการ โครงการพลังคนไทยร่วมใจป้องกันไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
ที่อยู่ ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 63-L1485-5-37 เลขที่ข้อตกลง 37/2563
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2563 ถึง 31 มีนาคม 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการพลังคนไทยร่วมใจป้องกันไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเหลียน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการพลังคนไทยร่วมใจป้องกันไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการพลังคนไทยร่วมใจป้องกันไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 63-L1485-5-37 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2563 - 31 มีนาคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,550.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเหลียน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ซึ่งย่อมาจาก “Coronavirus disease 2019” เป็นตระกูลเดียวกับโรคซาร์ส (SARS) ที่ระบาดเมื่อปี 2545 ทำให้เกิดโรคทางเดินหายใจอักเสบเฉียบพลัน ปอดอักเสบและมีภาวะแทรกซ้อน พบแหล่งกำเนิดจากเมืองอู่ฮั่น มณฑลหูเป่ย สาธารณรัฐประชาชนจีน จากที่มีผู้ป่วยมีอาการคล้ายปอดอักเสบและไข้หวัดใหญ่เป็นจำนวนมาก จึงมีการเก็บตัวอย่างของคนไข้เหล่านี้ไปถอดรหัสพันธุกรรมและได้พบว่าเป็นเชื้อไวรัสสายพันธุ์ใหม่ในชื่อ ไวรัสโคโรนา ซึ่งเป็นสายพันธุ์ที่ 7 ที่ถูกค้นพบ เป็นตระกูลเดียวกับโรคซาร์ส (SARS) และเมอร์ส (MERS) และองค์การอนามัยโลกได้ประกาศให้การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เป็น “ภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุขระหว่างประเทศ” เนื่องจากเชื้อไวรัสดังกล่าวได้มีการแพร่ระบาดไปยังประเทศต่างๆ ทั่วโลกอย่างรวดเร็ว ตลอดจนประเทศไทย กระทรวงสาธารณสุขได้มีประกาศให้โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เป็นโรคติดต่ออันตรายตามพระราชบัญญัติโรคติดต่ออันตรายตามพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. 2558 เพื่อประโยชน์ในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่ออันตราย
ตามพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 และที่แก้ไขเพิ่มเติม มาตรา 50 (4) เทศบาลมีอำนาจหน้าที่ในการป้องกันและระงับโรคติดต่อ มาตรา 54 (7) จัดทำกิจการ ซึ่งจำเป็นเพื่อการสาธารณสุข มาตรา 56 (3) กิจการอย่างอื่นซึ่งจำเป็นเพื่อการสาธารณสุข พระราชบัญญัติองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2537 และที่แก้ไขเพิ่มเติม มาตรา 67 (3) องค์การบริหารส่วนตำบลมีอำนาจหน้าที่ในการป้องกันโรคและระงับโรคติดต่อ (4) ป้องกัน และบรรเทาสาธารณภัย พระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 มาตรา 16 (19) เทศบาล องค์การบริหารส่วนตำบล และเมืองพัทยา มีอำนาจหน้าที่ในการสาธารณสุข การอนามัยครอบครัว และการรักษาพยาบาล ดังนั้น เพื่อเป็นการป้องกันการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) มาตรการที่สำคัญ คือ การป้องกันตนเองมิให้สัมผัสกับโรคโดยการหลีกเลี่ยงการอยู่ในสถานที่แออัด หรือมีมลภาวะ และไม่อยู่ใกล้ชิดกับผู้ป่วยไอหรือจาม รวมถึงการสวมหน้ากากอนามัย ดังนั้น เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่สามารถเข้าถึงหน้ากากอนามัยเพื่อป้องกันการ
ระบาดของโรค ไม่เฉพาะโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เท่านั้น รวมถึงโรคระบาดหรือโรคติดต่อ
- 2 -
อุบัติใหม่ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจึงดำเนินการจัดทำ “โครงการพลังคนไทยร่วมใจป้องกันไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563” แก่บุคลากรในสังกัดเทศบาลและองค์การบริหารส่วนตำบล ผู้นำหมู่บ้าน (กำนันและผู้ใหญ่บ้าน) และผู้นำชุมชน อาสาสมัครในพื้นที่ (อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.)) กลุ่มสตรี จิตอาสา และประชาชนที่สนใจ โดยมุ่งหวังว่าทุกครัวเรือนสามารถจัดทำหน้ากากอนามัยไว้ใช้เองและสมาชิกในครัวเรือมีหน้ากากอนามัยไว้ป้องกันโรคต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีการดำเนินจัดทำหน้ากากอนามัยเพื่อการป้องกันตนเอง” แก่บุคลากรในสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ผู้นำหมู่บ้าน (กำนันและผู้ใหญ่บ้าน) และผู้นำชุมชน อาสาสมัครในพื้นที่ (อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) กลุ่มสตรี จิตอาสา และประชาชนที่สนใจ เพื่อสร้างทีมวิทยากร หรือทีมครู ก.
- 2. เพื่อให้ทีมวิทยากร หรือทีมครู ก. เผยแพร่การจัดทำหน้ากากอนามัยในพื้นที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
- 3. เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้ประชาชนสามารถป้องกันโรคระบาดด้วยตนเอง
- 4. เพื่อลดภาระค่าใช้จ่ายของราชการให้แก่ประชาชน ในการเฝ้าระวังและป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
- 5. เพื่อสร้างความตระหนักให้แก่ประชาชนในการเฝ้าระวังและป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
13,008
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- มีทีมวิทยากร หรือทีมครู ก. ได้มีการจัดทำหน้ากากอนามัยเพื่อการป้องกันตนเอง” แก่บุคลากรในสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ผู้นำหมู่บ้าน (กำนันและผู้ใหญ่บ้าน) และผู้นำชุมชน อาสาสมัครในพื้นที่ (อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.)) กลุ่มสตรี จิตอาสา และประชาชนที่สนใจ
- ทีมวิทยากร หรือทีมครู ก. มีความรู้และทักษะในการจัดทำหน้ากากอนามัยไว้ใช้เองในครัวเรือน และสามารถถ่ายทอดองค์ความรู้ ตลอดจนสามารถสอนวิธีการจัดทำหน้ากากอนามัยให้แก่ประชาชนที่สนใจ
- ประชาชนเกิดความตระหนักและสามารถป้องกันโรคระบาดโดยเริ่มจากตนเอง
- เพื่อกระตุ้นให้แต่ละพื้นที่ตระหนักเห็นความสำคัญ และร่วมกันป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
- เกิดการประสานงาน และความร่วมมือที่ดีต่อกันในหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในพื้นที่
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1. เพื่อให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีการดำเนินจัดทำหน้ากากอนามัยเพื่อการป้องกันตนเอง” แก่บุคลากรในสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ผู้นำหมู่บ้าน (กำนันและผู้ใหญ่บ้าน) และผู้นำชุมชน อาสาสมัครในพื้นที่ (อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) กลุ่มสตรี จิตอาสา และประชาชนที่สนใจ เพื่อสร้างทีมวิทยากร หรือทีมครู ก.
ตัวชี้วัด :
0.00
2
2. เพื่อให้ทีมวิทยากร หรือทีมครู ก. เผยแพร่การจัดทำหน้ากากอนามัยในพื้นที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ตัวชี้วัด :
0.00
3
3. เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้ประชาชนสามารถป้องกันโรคระบาดด้วยตนเอง
ตัวชี้วัด :
0.00
4
4. เพื่อลดภาระค่าใช้จ่ายของราชการให้แก่ประชาชน ในการเฝ้าระวังและป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
ตัวชี้วัด :
0.00
5
5. เพื่อสร้างความตระหนักให้แก่ประชาชนในการเฝ้าระวังและป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
ตัวชี้วัด :
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
13008
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
13,008
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีการดำเนินจัดทำหน้ากากอนามัยเพื่อการป้องกันตนเอง” แก่บุคลากรในสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ผู้นำหมู่บ้าน (กำนันและผู้ใหญ่บ้าน) และผู้นำชุมชน อาสาสมัครในพื้นที่ (อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) กลุ่มสตรี จิตอาสา และประชาชนที่สนใจ เพื่อสร้างทีมวิทยากร หรือทีมครู ก. (2) 2. เพื่อให้ทีมวิทยากร หรือทีมครู ก. เผยแพร่การจัดทำหน้ากากอนามัยในพื้นที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (3) 3. เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้ประชาชนสามารถป้องกันโรคระบาดด้วยตนเอง (4) 4. เพื่อลดภาระค่าใช้จ่ายของราชการให้แก่ประชาชน ในการเฝ้าระวังและป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) (5) 5. เพื่อสร้างความตระหนักให้แก่ประชาชนในการเฝ้าระวังและป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการพลังคนไทยร่วมใจป้องกันไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 63-L1485-5-37
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวอัสมา สันเจริญ ตำแหน่ง นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการพลังคนไทยร่วมใจป้องกันไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ”
ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นางสาวอัสมา สันเจริญ ตำแหน่ง นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ
มีนาคม 2563
ที่อยู่ ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 63-L1485-5-37 เลขที่ข้อตกลง 37/2563
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2563 ถึง 31 มีนาคม 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการพลังคนไทยร่วมใจป้องกันไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเหลียน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการพลังคนไทยร่วมใจป้องกันไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการพลังคนไทยร่วมใจป้องกันไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 63-L1485-5-37 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2563 - 31 มีนาคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,550.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเหลียน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ซึ่งย่อมาจาก “Coronavirus disease 2019” เป็นตระกูลเดียวกับโรคซาร์ส (SARS) ที่ระบาดเมื่อปี 2545 ทำให้เกิดโรคทางเดินหายใจอักเสบเฉียบพลัน ปอดอักเสบและมีภาวะแทรกซ้อน พบแหล่งกำเนิดจากเมืองอู่ฮั่น มณฑลหูเป่ย สาธารณรัฐประชาชนจีน จากที่มีผู้ป่วยมีอาการคล้ายปอดอักเสบและไข้หวัดใหญ่เป็นจำนวนมาก จึงมีการเก็บตัวอย่างของคนไข้เหล่านี้ไปถอดรหัสพันธุกรรมและได้พบว่าเป็นเชื้อไวรัสสายพันธุ์ใหม่ในชื่อ ไวรัสโคโรนา ซึ่งเป็นสายพันธุ์ที่ 7 ที่ถูกค้นพบ เป็นตระกูลเดียวกับโรคซาร์ส (SARS) และเมอร์ส (MERS) และองค์การอนามัยโลกได้ประกาศให้การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เป็น “ภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุขระหว่างประเทศ” เนื่องจากเชื้อไวรัสดังกล่าวได้มีการแพร่ระบาดไปยังประเทศต่างๆ ทั่วโลกอย่างรวดเร็ว ตลอดจนประเทศไทย กระทรวงสาธารณสุขได้มีประกาศให้โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เป็นโรคติดต่ออันตรายตามพระราชบัญญัติโรคติดต่ออันตรายตามพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. 2558 เพื่อประโยชน์ในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่ออันตราย
ตามพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 และที่แก้ไขเพิ่มเติม มาตรา 50 (4) เทศบาลมีอำนาจหน้าที่ในการป้องกันและระงับโรคติดต่อ มาตรา 54 (7) จัดทำกิจการ ซึ่งจำเป็นเพื่อการสาธารณสุข มาตรา 56 (3) กิจการอย่างอื่นซึ่งจำเป็นเพื่อการสาธารณสุข พระราชบัญญัติองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2537 และที่แก้ไขเพิ่มเติม มาตรา 67 (3) องค์การบริหารส่วนตำบลมีอำนาจหน้าที่ในการป้องกันโรคและระงับโรคติดต่อ (4) ป้องกัน และบรรเทาสาธารณภัย พระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 มาตรา 16 (19) เทศบาล องค์การบริหารส่วนตำบล และเมืองพัทยา มีอำนาจหน้าที่ในการสาธารณสุข การอนามัยครอบครัว และการรักษาพยาบาล ดังนั้น เพื่อเป็นการป้องกันการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) มาตรการที่สำคัญ คือ การป้องกันตนเองมิให้สัมผัสกับโรคโดยการหลีกเลี่ยงการอยู่ในสถานที่แออัด หรือมีมลภาวะ และไม่อยู่ใกล้ชิดกับผู้ป่วยไอหรือจาม รวมถึงการสวมหน้ากากอนามัย ดังนั้น เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่สามารถเข้าถึงหน้ากากอนามัยเพื่อป้องกันการ ระบาดของโรค ไม่เฉพาะโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เท่านั้น รวมถึงโรคระบาดหรือโรคติดต่อ - 2 -
อุบัติใหม่ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจึงดำเนินการจัดทำ “โครงการพลังคนไทยร่วมใจป้องกันไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563” แก่บุคลากรในสังกัดเทศบาลและองค์การบริหารส่วนตำบล ผู้นำหมู่บ้าน (กำนันและผู้ใหญ่บ้าน) และผู้นำชุมชน อาสาสมัครในพื้นที่ (อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.)) กลุ่มสตรี จิตอาสา และประชาชนที่สนใจ โดยมุ่งหวังว่าทุกครัวเรือนสามารถจัดทำหน้ากากอนามัยไว้ใช้เองและสมาชิกในครัวเรือมีหน้ากากอนามัยไว้ป้องกันโรคต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีการดำเนินจัดทำหน้ากากอนามัยเพื่อการป้องกันตนเอง” แก่บุคลากรในสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ผู้นำหมู่บ้าน (กำนันและผู้ใหญ่บ้าน) และผู้นำชุมชน อาสาสมัครในพื้นที่ (อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) กลุ่มสตรี จิตอาสา และประชาชนที่สนใจ เพื่อสร้างทีมวิทยากร หรือทีมครู ก.
- 2. เพื่อให้ทีมวิทยากร หรือทีมครู ก. เผยแพร่การจัดทำหน้ากากอนามัยในพื้นที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
- 3. เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้ประชาชนสามารถป้องกันโรคระบาดด้วยตนเอง
- 4. เพื่อลดภาระค่าใช้จ่ายของราชการให้แก่ประชาชน ในการเฝ้าระวังและป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
- 5. เพื่อสร้างความตระหนักให้แก่ประชาชนในการเฝ้าระวังและป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 13,008 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- มีทีมวิทยากร หรือทีมครู ก. ได้มีการจัดทำหน้ากากอนามัยเพื่อการป้องกันตนเอง” แก่บุคลากรในสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ผู้นำหมู่บ้าน (กำนันและผู้ใหญ่บ้าน) และผู้นำชุมชน อาสาสมัครในพื้นที่ (อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.)) กลุ่มสตรี จิตอาสา และประชาชนที่สนใจ
- ทีมวิทยากร หรือทีมครู ก. มีความรู้และทักษะในการจัดทำหน้ากากอนามัยไว้ใช้เองในครัวเรือน และสามารถถ่ายทอดองค์ความรู้ ตลอดจนสามารถสอนวิธีการจัดทำหน้ากากอนามัยให้แก่ประชาชนที่สนใจ
- ประชาชนเกิดความตระหนักและสามารถป้องกันโรคระบาดโดยเริ่มจากตนเอง
- เพื่อกระตุ้นให้แต่ละพื้นที่ตระหนักเห็นความสำคัญ และร่วมกันป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
- เกิดการประสานงาน และความร่วมมือที่ดีต่อกันในหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในพื้นที่
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีการดำเนินจัดทำหน้ากากอนามัยเพื่อการป้องกันตนเอง” แก่บุคลากรในสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ผู้นำหมู่บ้าน (กำนันและผู้ใหญ่บ้าน) และผู้นำชุมชน อาสาสมัครในพื้นที่ (อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) กลุ่มสตรี จิตอาสา และประชาชนที่สนใจ เพื่อสร้างทีมวิทยากร หรือทีมครู ก. ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
||
2 | 2. เพื่อให้ทีมวิทยากร หรือทีมครู ก. เผยแพร่การจัดทำหน้ากากอนามัยในพื้นที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
||
3 | 3. เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้ประชาชนสามารถป้องกันโรคระบาดด้วยตนเอง ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
||
4 | 4. เพื่อลดภาระค่าใช้จ่ายของราชการให้แก่ประชาชน ในการเฝ้าระวังและป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
||
5 | 5. เพื่อสร้างความตระหนักให้แก่ประชาชนในการเฝ้าระวังและป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 13008 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 13,008 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีการดำเนินจัดทำหน้ากากอนามัยเพื่อการป้องกันตนเอง” แก่บุคลากรในสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ผู้นำหมู่บ้าน (กำนันและผู้ใหญ่บ้าน) และผู้นำชุมชน อาสาสมัครในพื้นที่ (อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) กลุ่มสตรี จิตอาสา และประชาชนที่สนใจ เพื่อสร้างทีมวิทยากร หรือทีมครู ก. (2) 2. เพื่อให้ทีมวิทยากร หรือทีมครู ก. เผยแพร่การจัดทำหน้ากากอนามัยในพื้นที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (3) 3. เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้ประชาชนสามารถป้องกันโรคระบาดด้วยตนเอง (4) 4. เพื่อลดภาระค่าใช้จ่ายของราชการให้แก่ประชาชน ในการเฝ้าระวังและป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) (5) 5. เพื่อสร้างความตระหนักให้แก่ประชาชนในการเฝ้าระวังและป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการพลังคนไทยร่วมใจป้องกันไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 63-L1485-5-37
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวอัสมา สันเจริญ ตำแหน่ง นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......