กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลุโบะสาวอ


“ ดูแล เฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) ปีงบประมาณ 2563 ”

ตำบลลุโบะสาวอ อำเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นายนิเฮง ซา

ชื่อโครงการ ดูแล เฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) ปีงบประมาณ 2563

ที่อยู่ ตำบลลุโบะสาวอ อำเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ L6959-2563-2-001 เลขที่ข้อตกลง L6959.2563/001

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 9 มีนาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"ดูแล เฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) ปีงบประมาณ 2563 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลลุโบะสาวอ อำเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลุโบะสาวอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ดูแล เฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) ปีงบประมาณ 2563



บทคัดย่อ

โครงการ " ดูแล เฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) ปีงบประมาณ 2563 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลลุโบะสาวอ อำเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ L6959-2563-2-001 ระยะเวลาการดำเนินงาน 9 มีนาคม 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 43,510.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลุโบะสาวอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ซึ่งมีการประกาศจากกระทรวงสาธารณสุข ให้โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เป็นโรคร้ายแรง เกิดการตื่นตระหนกของประชาชนทั่วโลกและคนไทย ซึ่งพบว่ามีการระบาดแพร่กระจายไปในหลายประเทศ มีผู้เสียชีวิตเป็นจำนวนมาก ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจและสังคมอย่างรุนแรง โรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) ซึ่งย่อมาจาก “Coronavirus disease 2019” เป็นตระกูลเดียวกับโรคซาร์ส ที่ระบาดเมื่อปี พ.ศ. 2545 ทำให้เกิดโรคทางเดินหายใจอักเสบเฉียบพลัน ปอดอักเสบและมีภาวะแทรกซ้อน พบแหล่งกำเนิดจากเมืองอู่ฮั่น มลฑลหูเป่ย ประเทศจีน จากที่มีผู้ป่วยมีอาการคล้ายปอดอักเสบและไข้หวัดใหญ่เป็นจำนวนมาก จึงมีการเก็บตัวอย่างของคนไข้เหล่านี้ไปถอดรหัสพันธุกรรม และได้ว่าเป็นเชื้อไวรัสโคโรนา ซึ่งเป็นสายพันธุ์ที่ 7 ที่ถูกค้นพบ เป็นตระกูลเดียวกับโรคซาร์ส (SARS) และเมอร์ส (MERS) จากข้อมูลกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ณ วันที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2563 เวลา 21.00 น. มีรายงานผู้ป่วยยืนยันทั่วโลก รวม 62 ประเทศ 2 เขตบริหารพิเศษ และเรือ Diamond Princess รวมจำนวน 86,993 ราย มีอาการรุนแรง 7,567 ราย เสียชีวิต 2,980 ราย และสถานการณ์การแพร่ระบาดในประเทศไทยพบผู้ป่วยเข้าเกณฑ์ต้องเฝ้าระวัง 3,252 ราย พบผู้ป่วยติดเชื้อสะสม 42 ราย หายป่วยและแพทย์อนุญาตให้ออกจากโรงพยาบาล 31 ราย อยู่ระหว่างการรักษา 10 ราย ผู้ป่วยยืนยันที่มีอาการรุนแรง 1 ราย ผู้ป่วยยืนยันเสียชีวิต 1 ราย มาตรการที่สำคัญในการป้องกันการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) คือ การป้องกันตนเองมิให้สัมผัสกับโรค โดยการหลีกเลี่ยงการอยู่ในสถานที่แออัดหรือมลภาวะ และไม่อยู่ใกล้ชิดกับผู้ป่วยที่มีอาการไอหรือจาม รวมถึงการสวมหน้ากากอนามัยและการล้างมือเป็นประจำ ดังนั้น เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่สามารถเข้าถึงหน้ากากอนามัยและทราบวิธีปฏิบัติการล้างมือที่ถูกวิธี เพื่อป้องกันโรคไม่เฉพาะโรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) เท่านั้น แต่รวมถึงโรคระบาดหรือโรคติดต่ออุบัติใหม่ที่จะเกิดขึ้นในอนาคตอีกด้วย จึงเห็นควรให้มีการดำเนินการให้ความรู้ คำแนะนำ การดูแลและเฝ้าระวังป้องกันตนเอง ให้กับประชาชนในเขตพื้นที่ตำบลลุโบะสาวอได้นำไปปฏิบัติใช้ในชีวิตประจำวัน     ด้วยเหตุนี้ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน รพ.สต.ลุโบะสาวอ จึงได้ประสานความร่วมมือกับองค์การบริหารส่วนตำบลลุโบะสาวอ และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบลลุโบะสาวอ ดำเนินมาตรการต่างๆ ในทุกรูปแบบ เพื่อดูแล เฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) และโรคติดต่ออื่นๆ ไม่ให้เข้ามาแพร่ระบาดในพื้นที่ตำบลลุโบะสาวอได้ ชมรมอาสาสมัครฯ จึงได้จัดทำโครงการ “ดูแล เฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) และโรคติดต่ออื่นๆ” ขึ้นมาเสนอ เพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลลุโบะสาวอ เพื่อให้การดำเนินโครงการดังกล่าวสำเร็จลุล่วง ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อสร้างความเข้าใจในการสวมหน้ากากที่ปลอดภัย และมีหน้ากากอนามัยไว้ใช้เอง
  2. เพื่อเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจแก่ประชาชนในพื้นที่ เกี่ยวกับโรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19)

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ลงพื้นที่เคาะประตูบ้าน เพื่อให้ความรู้ คัดกรองกลุ่มเสี่ยง และแจกหน้ากากอนามัยให้ประชาชน
  2. ฝึกอบรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการ เรื่อง สถานการณ์ การเฝ้าระวัง การดูแลป้องกันโรค การคัดกรองกลุ่มที่มีความเสี่ยง วางแผนลงพื้นที่เคาะประตูบ้าน และการจัดทำหน้ากากอนามัยพึ่งตนเอง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 7,311
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1 ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ เรื่อง โรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) 2 ประชาชนมีพฤติกรรมที่สามารถป้องกันโรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19)


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อสร้างความเข้าใจในการสวมหน้ากากที่ปลอดภัย และมีหน้ากากอนามัยไว้ใช้เอง
ตัวชี้วัด : ร้อยละของประชาชน มีหน้ากากอนามัยไว้ใช้สำหรับป้องกันโรค
0.00 100.00

 

2 เพื่อเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจแก่ประชาชนในพื้นที่ เกี่ยวกับโรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19)
ตัวชี้วัด : ร้อยละของประชาชน มีความรู้เกี่ยวกับโรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) และโรคติดต่ออื่นๆ
0.00 100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 7311
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 7,311
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างความเข้าใจในการสวมหน้ากากที่ปลอดภัย และมีหน้ากากอนามัยไว้ใช้เอง (2) เพื่อเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจแก่ประชาชนในพื้นที่ เกี่ยวกับโรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19)

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ลงพื้นที่เคาะประตูบ้าน เพื่อให้ความรู้ คัดกรองกลุ่มเสี่ยง และแจกหน้ากากอนามัยให้ประชาชน (2) ฝึกอบรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการ เรื่อง สถานการณ์ การเฝ้าระวัง การดูแลป้องกันโรค การคัดกรองกลุ่มที่มีความเสี่ยง วางแผนลงพื้นที่เคาะประตูบ้าน และการจัดทำหน้ากากอนามัยพึ่งตนเอง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ดูแล เฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) ปีงบประมาณ 2563 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ L6959-2563-2-001

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายนิเฮง ซา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด