กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการหนูน้อยยิ้มใส ห่างไกลฟันผุ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านนาค้อใต้ ตำบลมะกรูด ”
ตำบลมะกรูด อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี



หัวหน้าโครงการ
นางสาวนิซง เฮ็งยามา




ชื่อโครงการ โครงการหนูน้อยยิ้มใส ห่างไกลฟันผุ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านนาค้อใต้ ตำบลมะกรูด

ที่อยู่ ตำบลมะกรูด อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 63–L2985-01-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการหนูน้อยยิ้มใส ห่างไกลฟันผุ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านนาค้อใต้ ตำบลมะกรูด จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลมะกรูด อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลมะกรูด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการหนูน้อยยิ้มใส ห่างไกลฟันผุ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านนาค้อใต้ ตำบลมะกรูด



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กปฐมวัย มีความรู้ความเข้าใจ และความตระหนักถึงความสำคัญในการดูแลสุขภาพช่องปากของเด็ก (2) เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กปฐมวัย มีทักษะและสามารถทำความสะอาดช่องปากของเด็กได้อย่างถูกวิธี และปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง (3) เพื่อป้องกันและควบคุมการเกิดฟันผุในระยะเริ่มแรกของ เด็กปฐมวัยโดยปราศจากโรคฟันผุ (Caries free) (4) เพื่อค้นหาหนูน้อยยิ้มใส ห่างไกลฟันผุ ตามเกณฑ์ในระดับตำบล

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครองในเรื่องการดูแลทันตสุขภาพของเด็กปฐมวัย ฝึกทักษะการตรวจสุขภาพช่องปาก, ฝึกทักษะการแปรงฟันในเด็กก่อนวัยเรียน และทาฟลูออไรด์เฉพาะที่, กิจกรรมประกวดหนูน้อยยิ้มใส ห่างไกลฟันผุ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ประสาน อสม. ในการดำเนินการตามผู้ปกครองเด็กให้เข้าร่วมกิจกรรม

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัญหาสุขภาพช่องปากของเด็กก่อนวัยเรียน เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญก่อให้เกิดผลเสียต่อสุขภาพอนามัยของเด็ก โรคฟันผุในเด็กสามารถพบได้ตั้งแต่ฟันเริ่มขึ้นในช่วงขวบปีแรกและอัตราการผุเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วในช่วงอายุ  1 – 3 ปี จากผลการสำรวจสภาวะทันตสุขภาพแห่งชาติครั้งที่ 8 พ.ศ. 2560 พบว่า ความชุกของโรคฟันผุในฟันน้ำนมในเด็กอายุ 3 ปี คือ ร้อยละ 52.9 และเด็กอายุ 5 ปี มีความชุกของโรคฟันผุในฟันน้ำนม ร้อยละ 75.6 พบฟันผุระยะเริ่มต้นในเด็กอายุ 3 ปี และ 5 ปี ร้อยละ 31.1 และร้อยละ 31.3 ตามลำดับ จากข้อมูลการสำรวจสภาวะทันตสุขภาพดังกล่าว จะเห็นได้ว่าเด็กส่วนใหญ่มีปัญหาโรคฟันผุ ซึ่งสาเหตุการเกิดโรคฟันผุในฟันน้ำนม มีสาเหตุมาจากหลายปัจจัยร่วมกัน ปัจจัยที่สำคัญ คือ พฤติกรรมการเลี้ยงดูเด็กก่อนวัยเรียน เนื่องจากเด็กก่อนวัยเรียนเป็นกลุ่มที่ต้องอาศัยการพึ่งพิงผู้อื่น โดยเฉพาะจากผู้ปกครองเป็นสำคัญ ไม่ว่าจะเป็นพ่อแม่หรือผู้ปกครอง พฤติกรรมการเลี้ยงดู ได้แก่ การปล่อยให้เด็กหลับคาขวดนม ผู้ปกครองไม่ได้แปรงฟันให้เด็ก การใส่น้ำหวานในขวดนม การบริโภคอาหารของเด็กโดยเฉพาะขนมหวาน ขนมกรุบกรอบ การดื่มน้ำหวาน และการขาดการดูแลสุขภาพช่องปากของเด็ก เป็นต้น (ลักขณา อุ้ยจิรากุล, 2560) และปัจจัยอีกประการหนึ่ง คือ ความเชื่อและทัศนคติของผู้ปกครองนับว่าเป็นสิ่งสำคัญ เช่น บางคนมีความเชื่อว่าฟันน้ำนมไม่มีความสำคัญ เมื่อผุควรถอนทิ้งไม่ต้องรักษา ซึ่งแท้จริงแล้ว ฟันน้ำนมมีความสำคัญต่อการเจริญเติบโตของใบหน้า ช่วยให้ฟันแท้เจริญเติบโตได้ตามปกติ และขึ้นในตำแหน่งที่ถูกต้อง หากเด็กสูญเสียฟันน้ำนมก่อนกำหนดจะทำให้ไม่มีฟันเคี้ยวอาหาร หรือเคี้ยวอาหารไม่ละเอียด มีผลต่อภาวะโภชนาการ ส่งผลต่อการเจริญเติบโตของเด็ก นอกจากนี้โรคฟันผุที่ลุกลามจะทำให้เด็กมีอาการปวด นอนไม่หลับ เคี้ยวอาหารจำพวกเนื้อสัตว์และผักผลไม้ไม่ได้ ซึ่งส่งผลต่อภาวะโภชนาการของเด็ก (ปริญญาจิตอร่าม และ กุลนาถมากบุญ, 2557) ทางศูนย์สุขภาพชุมชนมะกรูด ได้ตระหนักเห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการ หนูน้อยยิ้มใส ห่างไกลฟันผุขึ้น เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กมีความรู้ และเข้าใจในการดูแลสุขภาพช่องปากเด็กก่อนวัยเรียนอย่างเหมาะสม เพื่อ หวังให้เด็กมีทันตสุขภาพที่ดีและดูแลสุขภาพช่องปากอย่างถูกต้องต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กปฐมวัย มีความรู้ความเข้าใจ และความตระหนักถึงความสำคัญในการดูแลสุขภาพช่องปากของเด็ก
  2. เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กปฐมวัย มีทักษะและสามารถทำความสะอาดช่องปากของเด็กได้อย่างถูกวิธี และปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง
  3. เพื่อป้องกันและควบคุมการเกิดฟันผุในระยะเริ่มแรกของ เด็กปฐมวัยโดยปราศจากโรคฟันผุ (Caries free)
  4. เพื่อค้นหาหนูน้อยยิ้มใส ห่างไกลฟันผุ ตามเกณฑ์ในระดับตำบล

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครองในเรื่องการดูแลทันตสุขภาพของเด็กปฐมวัย ฝึกทักษะการตรวจสุขภาพช่องปาก, ฝึกทักษะการแปรงฟันในเด็กก่อนวัยเรียน และทาฟลูออไรด์เฉพาะที่, กิจกรรมประกวดหนูน้อยยิ้มใส ห่างไกลฟันผุ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 95
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้ปกครองเด็กมีความรู้ความเข้าใจและให้ความสำคัญกับการดูแลสุขภาพช่องปากและฟันของเด็ก     2. เด็กปฐมวัย ได้รับการดูแลสุขภาพช่องปากและฟันอย่างถูกวิธี     3. ปัญหาฟันผุของเด็กลดลง เด็กมีสุขภาพฟันที่ดีและแข็งแรง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครองในเรื่องการดูแลทันตสุขภาพของเด็กปฐมวัย ฝึกทักษะการตรวจสุขภาพช่องปาก, ฝึกทักษะการแปรงฟันในเด็กก่อนวัยเรียน และทาฟลูออไรด์เฉพาะที่, กิจกรรมประกวดหนูน้อยยิ้มใส ห่างไกลฟันผุ

วันที่ 20 สิงหาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

  1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครองในเรื่องการดูแลทันตสุขภาพของเด็กปฐมวัย
  2. ฝึกทักษะการตรวจสุขภาพช่องปาก ฝึกทักษะการแปรงฟันในเด็กก่อนวัยเรียน และทาฟลูออไรด์เฉพาะที่
  3. กิจกรรมประกวดหนูน้อยยิ้มใส ห่างไกลฟันผุ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ร้อยละ 80 ของผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจ และความตรัะหนักถึงความสำคัญในการดูแลสุขภาพช่องปากของเด็ก
  2. ร้อยละ 80 ของผู้ปกครองเด็กปฐมวัย สามารถทำความสะอาดสุขภาพช่องปากของเด็กได้ถูกวิธี
  3. ร้อยละ 90 ของด็กปฐมวัย ที่เข้าร่วมกิจกรรมได้รับการทาฟลูออำไรด์ จำนวน 2 ครั้ง
  4. ร้อยละ 100 ของด็กปฐมวัย ได้รับการตรวจประเมินสภาวะสุขภาพช่องปาก

 

95 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

  1. ร้อยละ 70 ของผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจ และความตรัะหนักถึงความสำคัญในการดูแลสุขภาพช่องปากของเด็ก
  2. ร้อยละ 70 ของผู้ปกครองเด็กปฐมวัย สามารถทำความสะอาดสุขภาพช่องปากของเด็กได้ถูกวิธี
  3. ร้อยละ 100 ของด็กปฐมวัย ที่เข้าร่วมกิจกรรมได้รับการทาฟลูออำไรด์ จำนวน 2 ครั้ง
  4. ร้อยละ 100 ของด็กปฐมวัย ได้รับการตรวจประเมินสภาวะสุขภาพช่องปาก

ดำเนินกิจกรรมในวันพุธ ที่ 13 สิงหาคม 2563 ณ ห้องประชุมโพธิ์ทอง โรงพยาบาลโคกโพธิ์ โดยมีกิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครองในเรื่องการดูแลทันตสุขภาพของเด็กปฐมวัย และฝึกทักษะการตรวจสุขภาพช่องปากและการแปรงฟันในเด็กก่อนวัยเรียน
กิจกรรมคัดกรองสุขภาพช่องปากและทาฟลูออไรด์วานิชแก่เด็กปฐมวัย และกิจกรรมการประกวดหนูน้อยยิ้มใส ห่างไกลฟันผุ

จากการฝึกทักษะการแปรงฟันโดยผู้ปกครองเด็ก พบว่า ผู้ปกครองเด็กยังมีทักษะการดูแลทันตสุขภาพของเด็กยังไม่ถูกวิธี ทั้งในเรื่องการตรวจความสะอาดของฟันเด็ก และท่าทางในการแปรงฟันในเด็ก20

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กปฐมวัย มีความรู้ความเข้าใจ และความตระหนักถึงความสำคัญในการดูแลสุขภาพช่องปากของเด็ก
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 70 ของผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจ และความตระหนักถึงความสำคัญในการดูแลสุขภาพช่องปากของเด็ก
0.00 70.00

 

2 เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กปฐมวัย มีทักษะและสามารถทำความสะอาดช่องปากของเด็กได้อย่างถูกวิธี และปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ ๗๐ ของผู้ปกครองเด็กปฐมวัย สามารถทำความสะอาดสุขภาพช่องปากของเด็กได้ถูกวิธี
0.00 70.00

 

3 เพื่อป้องกันและควบคุมการเกิดฟันผุในระยะเริ่มแรกของ เด็กปฐมวัยโดยปราศจากโรคฟันผุ (Caries free)
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 เด็กปฐมวัย ที่เข้าร่วมกิจกรรมได้รับการทาฟลูออไรด์วานิช จำนวน 2 ครั้ง
0.00 100.00

 

4 เพื่อค้นหาหนูน้อยยิ้มใส ห่างไกลฟันผุ ตามเกณฑ์ในระดับตำบล
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของเด็กปฐมวัย ได้รับการตรวจประเมินสภาวะสุขภาพช่องปาก
0.00 100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 95 95
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 95 95
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กปฐมวัย มีความรู้ความเข้าใจ และความตระหนักถึงความสำคัญในการดูแลสุขภาพช่องปากของเด็ก (2) เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กปฐมวัย มีทักษะและสามารถทำความสะอาดช่องปากของเด็กได้อย่างถูกวิธี และปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง (3) เพื่อป้องกันและควบคุมการเกิดฟันผุในระยะเริ่มแรกของ เด็กปฐมวัยโดยปราศจากโรคฟันผุ (Caries free) (4) เพื่อค้นหาหนูน้อยยิ้มใส ห่างไกลฟันผุ ตามเกณฑ์ในระดับตำบล

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครองในเรื่องการดูแลทันตสุขภาพของเด็กปฐมวัย ฝึกทักษะการตรวจสุขภาพช่องปาก, ฝึกทักษะการแปรงฟันในเด็กก่อนวัยเรียน และทาฟลูออไรด์เฉพาะที่, กิจกรรมประกวดหนูน้อยยิ้มใส ห่างไกลฟันผุ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ประสาน อสม. ในการดำเนินการตามผู้ปกครองเด็กให้เข้าร่วมกิจกรรม

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการหนูน้อยยิ้มใส ห่างไกลฟันผุ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านนาค้อใต้ ตำบลมะกรูด จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 63–L2985-01-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวนิซง เฮ็งยามา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด