กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการส่งเสริมสุขภาพ ห่างไกลยาเสพติดตำบลลำใหม่ ”
ตำบลลำใหม่ อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา



หัวหน้าโครงการ
นายปรีชา เซะบิง (รองประธานชมรมคนรักสุขภาพตำบลลำใหม่)




ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพ ห่างไกลยาเสพติดตำบลลำใหม่

ที่อยู่ ตำบลลำใหม่ อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 63-L4141-02-01 เลขที่ข้อตกลง ..............................

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2563 ถึง 31 พฤษภาคม 2563

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพ ห่างไกลยาเสพติดตำบลลำใหม่ จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลลำใหม่ อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลำใหม่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพ ห่างไกลยาเสพติดตำบลลำใหม่



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างแกนนำและเครือข่ายเพื่อการเฝ้าระวังยาเสพติดในชุมชน (2) เพื่อให้ชุมชนมีความรู้ความเข้าใจ ตระหนักถึงพิษภัยยาเสพติดที่มีผลต่อร่างกายและสามารถปฏิบัติตนให้ห่างไกลจากยาเสพติดได้ (3) เพื่อให้ชุมชนและหน่วยงานทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหายาเสพติดในตำบลลำใหม่ ผลจากการที่ชมรมคนรักสุขภาพตำบลลำใหม่ ได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพ ห่างไกลยาเสพติดตำบลลำใหม่ กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจ ตระหนักถึงพิษภัยยาเสพติดที่มีผลต่อร่างกายและสามารถปฏิบัติตนให้ห่างไกลจากยาเสพติดได้ เกิดแกนนำและเครือข่ายเพื่อการเฝ้าระวังยาเสพติดในชุมชน ชุมชนและหน่วยงานทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหายาเสพติดในตำบลลำใหม่ แกนนำมีการชักชวนเยาวชนใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์โดยการมาออกกำลังกาย เยาวชในตำบลมีการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ เช่น มีการออกกำลังกายเป็นประจำ การกินอาหารที่ถูกหลักโภชนาการการระมัดระวังเรื่องอาหารการกินที่ปลอดภัย ไม่มีสารพิษปนเปื้อนการส่งเริมสุขภาพจิต การจัดการกับความเครียดด้วยตนเองการลดความเสี่ยงจากการป้องกันและหลีกเลี่ยงสารเสพติดและอบายมุขต่างๆ เป็นต้น

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การสร้างเสริมสุขภาพ มีความสำคัญต่อการดำเนินชีวิตของบุคคลทุกคนที่ต้องการเป็นคนมีสุขภาพดี การมีสุขภาพที่ดีสมบูรณ์จะเป็นทุนในการประกอบกิจกรรมและภารกิจในชีวิตประจำวัน ตามบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบของตนเองได้อย่างมีประสิทธิภาพ จะเห็นได้ว่าการดำเนินงานทางด้านสุขภาพในปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมที่มุ่งเน้นระบบสุขภาพเป็นระบบสร้างนำซ่อม กล่าวคือเดิมสุขภาพเป็นระบบตั้งรับ คือรอให้เจ็บป่วยแล้วจึงนำมาซ่อมหรือนำมารักษา ทำให้ประชาชนคนไทยเจ็บป่วยและตายก่อนวัยอันควร เกิดการสูญเสียทางเศรษฐกิจเป็นจำนวนมาก แต่แนวคิดปัจจุบันเป็นระบบเชิงรุก พยายามทำทุกวิถีทางที่จะสร้างสุขภาพให้มีสุขภาพดีให้มากที่สุด ซึ่งทุกคนจะต้องมีความรู้เกี่ยวกับสุขภาพและมีการปฏิบัติตนหรือมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องโดยมีการปฏิบัติที่ทำให้มีความสุขที่ดีและหลีกเลี่ยงพฤติกรรมเสี่ยงหรืองดการกระทำที่เสี่ยงหรืออาจเป็นอันตรายต่อสุขภาพ เช่น มีการออกกำลังกายเป็นประจำ การกินอาหารที่ถูกหลักโภชนาการการระมัดระวังเรื่องอาหารการกินที่ปลอดภัย ไม่มีสารพิษปนเปื้อนการส่งเริมสุขภาพจิต การจัดการกับความเครียดด้วยตนเองการลดความเสี่ยงจากการป้องกันและหลีกเลี่ยงสารเสพติดและอบายมุขต่างๆ เป็นต้น

ดังนั้นบทบาทในการเสริมสร้างลักษณะนิสัยที่ถูกต้อง จึงเป็นหน้าที่ทุกคนในการสร้างลักษณะนิสัยที่จำเป็นในการปลูกฝังเพื่อส่งเสริมสุขภาพ ในปัจจุบันนี้ปัญหาที่สำคัญที่สุดคือปัญหาด้านยาเสพติดที่แพร่ระบาดตอนนี้คือ บาระกุและบุหรี่ไฟฟ้า ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นการนำไปสู่การเสพติดยาเสพติดชนิดอื่น ๆ เป็นบ่อนทำลายอนาคตของชาติ ซึ่งทุกหน่วยงานต้องให้การดูแลสนับสนุน เพื่อให้ประชาชนทั่วไปได้รับความรู้ในการส่งเสริมสุขภาพ และห่างไกลยาเสพติดต่อไปในอนาคตได้ ชมรมคนรักสุขภาพตำบลลำใหม่ จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพ ห่างไกลยาเสพติดตำบลลำใหม่ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อสร้างแกนนำและเครือข่ายเพื่อการเฝ้าระวังยาเสพติดในชุมชน
  2. เพื่อให้ชุมชนมีความรู้ความเข้าใจ ตระหนักถึงพิษภัยยาเสพติดที่มีผลต่อร่างกายและสามารถปฏิบัติตนให้ห่างไกลจากยาเสพติดได้
  3. เพื่อให้ชุมชนและหน่วยงานทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหายาเสพติดในตำบลลำใหม่

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 40
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. มีความรู้ความเข้าใจ ตระหนักถึงพิษภัยยาเสพติดที่มีผลต่อร่างกายและมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหายาเสพติด สามารถปฏิบัติตนให้ห่างไกลจากยาเสพติดได้
  2. สามารถนำความรู้ที่ได้รับไปถ่ายทอดความรู้ขยายผลไปยังผู้ใกล้ชิดในครอบครัว เพื่อนบ้านและชุมชนใกล้เคียง
  3. ชุมชนและหน่วยงานทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหายาเสพติดในตำบลลำใหม่

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมให้ความรู้

วันที่ 16 ธันวาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให้ความรู้ โดยวิทยากร นางสาวจศิมา วงศ์งาม ตำแหน่งสารวัตรอำนวยการสถานีตำรวจภูธรกาบัง ปฏิบัติราชการสถานีตำรวจภูธรลำใหม่ หัวเรื่อง - ยาเสพติด สถานการณ์ของยาเสพติดในปัจจุบัน ยาเสพติดที่แพร่ระบาดในประเทศไทย สาเหตุและวิธีสังเกตอาการผู้ติดยาเสพติด การป้องกันการติดยาเสพติดและการแพร่ระบาดของยาเสพติดในตำบลลำใหม่ - กิจกรรมกลุ่มเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องยาเสพติดและการป้องกันการแพร่ระบาดของยาเสพติด เน้นการทำงานเป็นทีมและความสามัคคี - กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพด้วยการออกกำลังกาย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กลุ่มเป้าหมาย จำนวน 40 คน มีความรู้ความเข้าใจ ตระหนักถึงพิษภัยยาเสพติดที่มีผลต่อร่างกายและสามารถปฏิบัติตนให้ห่างไกลจากยาเสพติดได้ เกิดแกนนำและเครือข่ายเพื่อการเฝ้าระวังยาเสพติดในชุมชน ชุมชนและหน่วยงานทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหายาเสพติดในตำบลลำใหม่ แกนนำมีการชักชวนเยาวชนใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์โดยการมาออกกำลังกาย

 

40 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อสร้างแกนนำและเครือข่ายเพื่อการเฝ้าระวังยาเสพติดในชุมชน
ตัวชี้วัด : - มีแกนนำและเครือข่ายเพื่อการเฝ้าระวังยาเสพติดในชุมชน
100.00 100.00

 

2 เพื่อให้ชุมชนมีความรู้ความเข้าใจ ตระหนักถึงพิษภัยยาเสพติดที่มีผลต่อร่างกายและสามารถปฏิบัติตนให้ห่างไกลจากยาเสพติดได้
ตัวชี้วัด : - มีความรู้ความเข้าใจ ตระหนักถึงพิษภัยยาเสพติดที่มีผลต่อร่างกายและสามารถปฏิบัติตนให้ห่างไกลจากยาเสพติดได้
100.00 95.00

 

3 เพื่อให้ชุมชนและหน่วยงานทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหายาเสพติดในตำบลลำใหม่
ตัวชี้วัด : - ชุมชนและหน่วยงานทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหายาเสพติดในตำบลลำใหม่
100.00 100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 40 40
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 40 40
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างแกนนำและเครือข่ายเพื่อการเฝ้าระวังยาเสพติดในชุมชน (2) เพื่อให้ชุมชนมีความรู้ความเข้าใจ ตระหนักถึงพิษภัยยาเสพติดที่มีผลต่อร่างกายและสามารถปฏิบัติตนให้ห่างไกลจากยาเสพติดได้ (3) เพื่อให้ชุมชนและหน่วยงานทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหายาเสพติดในตำบลลำใหม่ ผลจากการที่ชมรมคนรักสุขภาพตำบลลำใหม่ ได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพ ห่างไกลยาเสพติดตำบลลำใหม่ กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจ ตระหนักถึงพิษภัยยาเสพติดที่มีผลต่อร่างกายและสามารถปฏิบัติตนให้ห่างไกลจากยาเสพติดได้ เกิดแกนนำและเครือข่ายเพื่อการเฝ้าระวังยาเสพติดในชุมชน ชุมชนและหน่วยงานทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหายาเสพติดในตำบลลำใหม่ แกนนำมีการชักชวนเยาวชนใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์โดยการมาออกกำลังกาย เยาวชในตำบลมีการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ เช่น มีการออกกำลังกายเป็นประจำ การกินอาหารที่ถูกหลักโภชนาการการระมัดระวังเรื่องอาหารการกินที่ปลอดภัย ไม่มีสารพิษปนเปื้อนการส่งเริมสุขภาพจิต การจัดการกับความเครียดด้วยตนเองการลดความเสี่ยงจากการป้องกันและหลีกเลี่ยงสารเสพติดและอบายมุขต่างๆ เป็นต้น

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมสุขภาพ ห่างไกลยาเสพติดตำบลลำใหม่ จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 63-L4141-02-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายปรีชา เซะบิง (รองประธานชมรมคนรักสุขภาพตำบลลำใหม่) )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด