กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะลุวอ


“ โครงการป้องกันเเละการเฝ้าระวังการเเพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ”

ตำบลกะลุวอ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางสาวนรารัตน์ สือเเม

ชื่อโครงการ โครงการป้องกันเเละการเฝ้าระวังการเเพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

ที่อยู่ ตำบลกะลุวอ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 63-L2490-5-1 เลขที่ข้อตกลง 1/2563

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2563 ถึง 30 เมษายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการป้องกันเเละการเฝ้าระวังการเเพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกะลุวอ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะลุวอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันเเละการเฝ้าระวังการเเพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนระมัดระวัง และป้องกันการระบาดของโรค (2) เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้ประชาชนสามารถป้องกันโรคระบาดด้วยตนเอง (3) เพื่อสร้างความตระหนักถึงความร้ายแรงของโรค (4) เพื่อสร้างความร่วมมือและสนับสนุนหน่วยงานสาธารณสุขในพื้นที่ หากพบผู้ที่มีภาวะเสี่ยงต่อโรคให้ประสานหน่วยงานสาธารณสุขทันที (5) เพื่อการคัดกรองโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เบื้องต้นได้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมให้ความรู้การป้องกันและการเฝ้าระวังการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) (2) กิจกรรมการป้องกันควบคุมโรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรนา สายพันธุ์ใหม่ 2019 (COVID-19) (3) กิจกรรมประชาสัมพันธ์ ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน : เนื่องจากช่วงของการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ทำให้สินค้าที่จำเป็นต้องใช้ในการป้องกันเเละควบคุมโรค มีราคาสูงหายากกว่าในช่วงที่ไม่มีการระบาดของโรค

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ ...ไม่มี..........

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ด้วย สถานการณ์การระบาดของโรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในเมืองอู่ฮั่น มณฑลหูเป่ย สาธารณรัฐประชาชนจีน องค์การอนามัยโลก (WHO) ได้ประกาศให้การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เป็น “ภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุขระหว่างประเทศ” เนื่องจากเชื้อไวรัสดังกล่าว ได้มีการแพร่ระบาดไปยังประเทศต่างๆ ทั่วโลกอย่างรวดเร็ว ประกอบกับกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุขของไทย ได้ยกระดับศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน เป็นระดับ 3 เพื่อติดตามสถานการณ์โรคทั้งในประเทศและต่างประเทศอย่างใกล้ชิด และบริหารจัดการทรัพยากร เสริมสร้างความเข้มแข้งของระบบการเฝ้าระวังค้นหาผู้ป่วยโรคปอดอักเสบจากเชื้อไวรัสที่มาจากต่างประเทศ โดยเน้นการคัดกรองไข้ ณ ช่องทางเข้าออกประเทศที่ท่าอากาศยาน 5 แห่ง ได้แก่ ท่าอากาศยานนานาชาติสุวรรณภูมิ ดอนเมือง เชียงใหม่ ภูเก็ตและกระบี่ เพิ่มการเฝ้าระวังที่โรงพยาบาล สนับสนุนการเตรียมความพร้อมสำหรับรับมือโรคติดต่ออุบัติใหม่ (ด่วนที่สุด นธ 0023.6/126) สถานการณ์ปัจจุบันข้อมูลตั้งแต่วันที่ 30 ธันวาคม 2562 ถึงวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2563 ทางการจีนรายงานผู้ป่วยทั่วโลกจากทั้งหมด 27 ประเทศ และ 2 เขตบริหารพิเศษ จำนวนทั้งสิ้น 69,284 ราย เสียชีวิต 1,670 ราย และมีหลักฐานการติดต่อจากคนสู่คน พบผู้ป่วยยืนยันในผู้ที่ไม่มีประวัติการเดินทางไปประเทศจีน แต่มีประวัติใกล้ชิดกับผู้ที่เดินทางมาจากพื้นที่ระบาดของโรค ในประเทศไทยพบผู้ป่วยเข้าเกณฑ์ต้องเฝ้าระวังทั้งสิ้น 837 ราย พบผู้ป่วยติดเชื้อยังคงรับไว้ในโรงพยาบาล134 ราย อนุญาตให้กลับบ้านแล้ว 692 ราย และอยู่ระหว่างสังเกตอาการที่แผนกผู้ป่วยนอกและที่บ้าน11 ราย และผู้ป่วยติดเชื้อยืนยันสะสม 34 ราย (หายป่วยและแพทย์อนุญาตให้ออกจากโรงพยาบาล 15 ราย อยู่ระหว่างการรักษาพยาบาล 19 ราย และเป็นผู้ป่วยที่มีอาการรุนแรง 2 ราย)
เพื่อเป็นการป้องกันและการเฝ้าระวังการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) มาตรการที่สำคัญ คือ การป้องกันตนเองมิให้สัมผัสกับโรคโดยการหลีกเลี่ยงการอยู่ในสถานที่แออัด หรือมลภาวะและไม่อยู่ใกล้ชิดผู้ป่วยไอหรือจาม รวมถึงการสวมหน้ากากอนามัย และการล้างมือ ดังนั้น เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่ สามารถป้องกันตนเองจากโรคโคโรนา 2019 (COVID-19) ไม่เฉพาะโรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เท่านั้น รวมถึงโรคระบาดหรือโรคติดต่ออุบัติใหม่ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต จึงเห็นควรให้มีการบูรณาการความร่วมมือจัดให้มีการดำเนินการให้ความรู้ คำแนะนำ การดูแลเฝ้าระวังป้องกันตนเองให้กับประชาชนในเขตพื้น กองสวัสดิการสังคมองค์การบริหารส่วนตำบลกะลุวอ จึงได้จัดทำโครงการป้องกันและเฝ้าระวังการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เพื่อให้ประชาชนมีความรู้และสามารถป้องกันโรค ตระหนักถึงความร้ายแรงของโรค ให้ความร่วมมือและสนับสนุนหน่วยงานสาธารณสุขในพื้นที่ หากพบผู้ที่มีภาวะเสี่ยงต่อโรค

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนระมัดระวัง และป้องกันการระบาดของโรค
  2. เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้ประชาชนสามารถป้องกันโรคระบาดด้วยตนเอง
  3. เพื่อสร้างความตระหนักถึงความร้ายแรงของโรค
  4. เพื่อสร้างความร่วมมือและสนับสนุนหน่วยงานสาธารณสุขในพื้นที่ หากพบผู้ที่มีภาวะเสี่ยงต่อโรคให้ประสานหน่วยงานสาธารณสุขทันที
  5. เพื่อการคัดกรองโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เบื้องต้นได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมให้ความรู้การป้องกันและการเฝ้าระวังการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
  2. กิจกรรมการป้องกันควบคุมโรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรนา สายพันธุ์ใหม่ 2019 (COVID-19)
  3. กิจกรรมประชาสัมพันธ์

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 12,000
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนเกิดความตระหนักและสามารถป้องกันโรคระบาดโดยเริ่มจากตนเอง
  2. ประชาชนในพื้นที่ให้ความสำคัญและร่วมกันป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19)
  3. ประชาชนสามารถรับมือกับปัญหากรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติฉุกเฉินได้ทันท่วงทีและ
  4. ประชาชนให้ความร่วมมือและสนับสนุนหน่วยงานสาธารณสุขในพื้นที่ หากพบผู้ที่มีภาวะเสี่ยงต่อโรคให้ประสานหน่วยงานสาธารณสุขทันที
  5. ประชาชนร้อยละ 60 ได้รับการคัดกรองโรคติดเชื้อไวรัสโดโรนา 2019 (COVID-19) เบื้องต้นได้

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

จากการดำเนินโครงการป้องกันเเละเฝ้าระวังการเเพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในพื้นที่ตำบลกะลุวอ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส ทำให้ประชาชนเกิดความตระหนัก สามารถป้องกันโรคระบาดโดยเริ่มจาตนเอง ให้ความสำคัญ ร่วมกันป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 สามารรับมือกับปัญหากรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติฉุกเฉินได้ทันท่วงทีเเละทั่วถึง ประชาชนให้ความร่วมมือ สนับสนุนหน่วยงานสาธารณสุขในพื้นที่ หากพบผู้ที่มีภาวะเสี่ยงต่อโรคให้ประสานหน่วยงานสาธารณสุขทันที ประชาชนร้อยละ 60 ได้รับการคัดกรองโคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 เบื้องต้น

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนระมัดระวัง และป้องกันการระบาดของโรค
ตัวชี้วัด : ประชาชนสามารถป้องกันและดูแลตนเองได้
0.00

 

2 เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้ประชาชนสามารถป้องกันโรคระบาดด้วยตนเอง
ตัวชี้วัด : ประชาชนสามารถป้องกันและดูแลตนเองได้
0.00

 

3 เพื่อสร้างความตระหนักถึงความร้ายแรงของโรค
ตัวชี้วัด : ประชาชนเกิดความตระหนักและสามารถป้องกันโรคระบาดโดยเริ่มจากตนเองและสามารถรับมือกับปัญหากรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติฉุกเฉินได้ทันท่วงทีและทั่วถึง
0.00

 

4 เพื่อสร้างความร่วมมือและสนับสนุนหน่วยงานสาธารณสุขในพื้นที่ หากพบผู้ที่มีภาวะเสี่ยงต่อโรคให้ประสานหน่วยงานสาธารณสุขทันที
ตัวชี้วัด : ประชาชนให้ความร่วมมือประสานงานกับหน่วยงานต่างๆที่เกี่ยวพบผู้ที่มีภาวะเสี่ยงต่อการเกิดโรคระบาด
0.00

 

5 เพื่อการคัดกรองโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เบื้องต้นได้
ตัวชี้วัด : ประชนร้อย 60 ได้รับการคัดกรองโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เบื้องต้น
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 12000 12000
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 12,000 12,000
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนระมัดระวัง และป้องกันการระบาดของโรค (2) เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้ประชาชนสามารถป้องกันโรคระบาดด้วยตนเอง (3) เพื่อสร้างความตระหนักถึงความร้ายแรงของโรค (4) เพื่อสร้างความร่วมมือและสนับสนุนหน่วยงานสาธารณสุขในพื้นที่ หากพบผู้ที่มีภาวะเสี่ยงต่อโรคให้ประสานหน่วยงานสาธารณสุขทันที (5) เพื่อการคัดกรองโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เบื้องต้นได้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมให้ความรู้การป้องกันและการเฝ้าระวังการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) (2) กิจกรรมการป้องกันควบคุมโรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรนา สายพันธุ์ใหม่ 2019 (COVID-19) (3) กิจกรรมประชาสัมพันธ์ ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน : เนื่องจากช่วงของการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ทำให้สินค้าที่จำเป็นต้องใช้ในการป้องกันเเละควบคุมโรค มีราคาสูงหายากกว่าในช่วงที่ไม่มีการระบาดของโรค

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ ...ไม่มี..........

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการป้องกันเเละการเฝ้าระวังการเเพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 63-L2490-5-1

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวนรารัตน์ สือเเม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด