กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวัง โทษภัยจากยาปลอมปนสารสเตียรรอยด์ โรงพยาบาลส่งเสริมตำบลควน ตำบลควน จังหวัดปัตตานี ปีงบประมาณ 2563
รหัสโครงการ 63-L2990-1-03
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยายบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลควน
วันที่อนุมัติ 1 มกราคม 2563
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 21 ตุลาคม 2563 - 22 ตุลาคม 2563
กำหนดวันส่งรายงาน 22 พฤศจิกายน 2563
งบประมาณ 15,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวตูแวยะ ตุแวแมแง
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลควน อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี
ละติจูด-ลองจิจูด 6.762,101.493place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานโรคเรื้อรัง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 50 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง :

ระบุ

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ปัจจุบันปัญหาการใช้ยาไม่สมเหตูสมผลของคนในชุมชนเป็นปัญหาที่มีความซับซ้อนและมีปัจจัยที่เข้ามามีส่วเกี่ยวข้องหลายส่วนทั้งจากตัวผู้ใช้ยาเอง ผู้สั่งใช้ยา ตลอดจนการควบคุมตามกฎหมาย การดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคด้ารสุขภาพ ได้มีการดำเนินงานอย่างต่อเนื่องในเรื่องของการสำรวจและยังพบปัญหาเกี่ยวกับการใช้ยาที่มีการปอลมปนสารสเตียรอยด์ ซึ่งสารเตียรอยด์นั้นเป็นสารประเภทฮอร์โมน มีประโยชน์ในการบรรเทาการอักเสบ ใช้เป็นยากดภูมิคุ้มกัน และใช้ในผู้ที่ขาดฮอร์โมนประเภทนี้ สามารถใช้รักษาโรคได้หลายชนิด เช่น โรคเอส แอล อี(โรคพุ่มพวง)โรคผิวหนังที่เกิดจากการแพ้ โรคหึด เป็นต้น แต่เมื่อนำสารสเตียรอยด์มาใช้ยา จะต้องใช้ตามความจำเป็นเท่านั้นใช้ยาตามคำแนะนำของแพทย์อย่างเคร่งครัดเพื่อความปลอดภัยมิฉะนั้นจะเกิดอันตราย ยิ่งถ้าได้รับสเตียรอยด์เป็นเวลานานหรือในขนาดสูงมากจะยิ่งเป็นอันตรายมากขึ้นอันตรายที่จะเกิดขึ้นนั้น ได้แก่ การกดภูมิคุ้มกันของร่างกาย ความดันโลหิตสูง เพิ่มน้ำตาลในเลือด กระดูกพรุน ต้อหิน ต้อกระจก เกิดแผลในกระเพาะอาหาร ผิวบาง หน้ากลมเป็นวงพระจันทร์ หลังเป็นหนอก เป็นต้น ซึ่งเมื่อหยุดสเตียรรอยด์กระทันหันจะเกิดอาการขาดเตียรอยด์ ความดันโลหิตลดต่ำ น้ำตาลในเลือดตกลงตามมาด้วยการเป็นลมหมดสติ พื้นที่ตำบลควนเป็นชุนชนตลาด ประชาชนมักจะซื้อยารับประทานด้วยตนเองและยาที่มักจะใช่บ่อยๆเป็นยาที่ทานแล้ว หายไว้ รักษาได้หลายอาการ เป็นยาชุด ยาลูกกลอน จากที่ได้สำรวจและนำยามาตรวจได้พบยาที่ปลอมปนสารสเตียรอยด์ 7 ชิด และส่วนใหญ่บุคคลที่ซื้อรับประทานเป็นกลุ่มโรคเรื้อรัง หากมีการใช้ต่อเนื่องเป็นเวลานานมากขึ้นเท่าใด อาการไม่พึงประสงค์ของยาสเตียรอยด์ก็ยิ่งเพิ่มมากขึ้น พร้อมกับความรุนแรงโรคที่มากขึ้นเรื่อยๆ   จากข้อมูลดังกล่าวโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลควน ได้เล็งเห็นและตระหนักถึงความสำคัญของปัญหาการใช้ยาปลอมปนสารสเตียรอยด์ จึงได้จัดทำโครงการเฝ้าระวัง โทษภัยจากยาปลอมปนสารสเตียรอยด์เพื่อให้ความรู้ ความเข้าใจในกลุ่มโรคเรื้อรังเกี่ยวกับการใช้ยาที่ถูกต้องและปลอดภัย

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อให้กลุ่มโรคเรื้อรัง จำนวน 50 คน มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับโทษพิษภัยยาปลอมปนสารสเตียรอยด์

 

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 50 15,000.00 1 15,000.00
21 - 22 ต.ค. 63 โครงการเฝ้าระวัง โทษภัยจากยาปลอมปนสารสเตียรอยด์ โรงพยายบาลส่งเสริมตำบลควน อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี ปีงบประมาณ 2563 50 15,000.00 15,000.00

1.ประชุมกลุ่มคณะทำงานของ รพ.สต.ควน 2.อบรมเกี่ยวกับโทษพิษภัยยาปลอมปนสารสเตียรอยด์ 3.จัดกิจกรรมตรวจสารเสตียรอยด์ 4.ติดตาม ประเมินผลหลังการรักษา

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผลผลิต 1.ร้อยละ 100 ของของกลุ่มโรคเรื้อรังได้รับการอบรมเกี่ยวกับโทษพิษภัยของยาปลอมปนสารสเตียรอยด์ ผลลัพธ์ 1.ร้อยละ 100 ของของกลุ่มโรคเรื้องรัง มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโทษพิษภัยของยาปลอมปนสารสเตียรอยด์

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 19 มี.ค. 2563 10:18 น.