กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาบัง


“ โครงการสร้างเสริมสุขภาพตามกลุ่มวัย ปี 2560 ”

ตำบลกาบัง อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวนุรอัยนี มาหาหมัด

ชื่อโครงการ โครงการสร้างเสริมสุขภาพตามกลุ่มวัย ปี 2560

ที่อยู่ ตำบลกาบัง อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 60-L4116-4-2 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2560 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสร้างเสริมสุขภาพตามกลุ่มวัย ปี 2560 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกาบัง อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาบัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสร้างเสริมสุขภาพตามกลุ่มวัย ปี 2560



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสร้างเสริมสุขภาพตามกลุ่มวัย ปี 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกาบัง อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 60-L4116-4-2 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 177,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาบัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากสถานการณ์ของประเทศไทย พบการเจ็บป่วยและเสียชีวิตด้วยโรคต่างๆ ทั้งโรคติดต่อและโรคไม่ติดต่อต่างๆ เช่น โรคหัวใจและหลอดเลือด เบาหวาน ความดันโลหิตสูง อัมพฤกษ์ อัมพาต มะเร็ง และอุบัติต่างๆ ซึ่งสอดคล้องกับการวิเคราะห์ปัญหาที่สำคัญสุขภาพในพื้นที่อำเภอกาบัง พบปัญหาที่สำคัญใน 6 กลุ่โรค ดังนี้ คือ กลุ่มโรคไม่ติดต่อ (โรคหัวใจและหล อดเลือด เบาหวาน ความดันโลหิตสูง อัมพฤกษ์ อัมพาต มะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านม)กลุ่มแม่และเด็ก (หญิงตั้งครรภ์ไม่พร้อม/ไม่พึ่งประสงค์ ภาวะซีด ฝากครรภ์ต่ำกว่า 12 สัปดาร์)กลุ่มเด็ก0-5 ปี (งานภูมคุ้มกันโรค พัฒนาการเด็ก) กลุ่มผู้สูงอายุ(การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ)กลุ่มคุ้มครองผู้บริโภค กลุ่มจิตเวช ซึ่งปัญหาดังกล่าวเกิดจากการมีพฤติกรรมสุขภาพไม่เหมาะสม ขาดการมีส่วร่วมทั้งระดับบุคคล ครอบครัว และชุมชน การสร้างเสิมสุขภาพและป้องกันโรคเป็นแนวทางการดูแลสุขภาพทีใช้ได้กับทุกเพศ ทุกวัย การที่ประาชนมีความรู้ มีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องและการได้รับการสนับสนุนช่วยเหลือจากภาคีเครือข่ายที่เข็มแข็งทำให้สามารถดำรงชีวิตและมีทักษะในการดำเนินชีวิตที่ปลอดภัยและลดการเจ็บป่วยด้วยโรคได้ ในปีที่ผ่านมาางโรงพยาบาลกาบัง ได้ดำเนินการรณรงค์สร้างกระแสความรู้ด้านสุขภาพ คักกรองกลุ่มเสี่ยง ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และเสริมสร้างพลังความเข็มแข็งในประชาชนทุกกลุ่มวัย และการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายในการดำเนินการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคไปแล้ว แต่ยังไม่สามารถลดการเจ็บป่วยรายใหม่ได้ และโรคที่ยังเป็นปัญหาสำคัญในปัจจุบัน ได้แก่ โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง รวมทั้งโรคหัวใจและหลอดเลือด โรคมะเร็ง ซึ่งเป็นโรคที่อัตราการเสียชีวิตสูง ค่าใช้จ่ายสูง การรักาาต่อเนื่องยาวนาน และมีผลต่อสุขภาพชีวิตของผู้ป่วยและครอบครัว อย่างมีเเนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง อุบัติการณ์การป่วยและเสียชีวิตด้วยโรค Metabolic อยู่ในระดับต้นๆของโรงพยาบาลกาบังจากการขาดความรู้ ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพที่ถูกต้องสำหรับในมารดาวัยรุ่นซึ่งมีแนวโน้มตั้งครรภ์ในอายุที่น้อยลงซึ่งเป็นปัญหาสำคัญที่มีต่อสุขภาพของมารดาและทารก เช่น มารดามีภาวะซีดขณะตั้งครรภ์และหลังคลอด ปัญหาการมีาภวะความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์ สำหรับปัญหาในทารก เช่น การมีภาวะแรกคลอดเด็กมีน้ำหนักน้อย และการรับวัคซีนไม่ครบตามเกณฑ์ ฟันผุในกลุ่มเด็กก่อนวัยเรียน รวมถึงโรคทางระบาดวิทยาที่ยังมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ได้แก่ ไข้มาลาเรีย โรคไข้เลือดออก และวัณโรค

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.ประชาชนทุกกลุ่มวัยที่มีความรู้ในการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคเพื่อลดการเจ็บป่วยรายใหม่ในกลุ่มโรคที่สำคัญ
  2. 2.ประชาชนทุกกลุ่มวัยได้รับความรู้ข้อมูลข่าวสารในการเฝ้าระวังและสามารถ
  3. 3.ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการดำเนินงานปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มโรคที่สำคัญ
  4. 4.พัฒนากระบวนการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคอุบัติใหม่ อุบัติซ้ำอย่างมีประสิทธิภาพ
  5. 5.จัดบริการให้สอดคล้องกับการเฝ้าระวังภัยสุขภาพ
  6. 6.วัยรุ่นมีทักษะในการดำรงชีวิตในสังคม
  7. 7.ผู้ปกครองเด็กและสังคมมีความเข้าใจในการดูแลและสร้างเสริมสุขภาพของตนเองและครอบครัวได้มากขึ้น

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 150
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.ด้านประชาชน มีความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม 2.ด้านชุมชน เกิดภาคีเครือข่ายในการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคที่เข็มแข็งในการดูแลสุขภาพ 3.ด้านระบบงาน เกิดการพัฒนาการทำงานอย่างเป็นระบบ มีประสิทธิภาพ 4.ด้านบุคลากร ได้รับการพัฒนาเพื่อเสิมสร้างองค์ความรู้และเรียนรู้การทำงานไปพร้อมกัน


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1.ประชาชนทุกกลุ่มวัยที่มีความรู้ในการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคเพื่อลดการเจ็บป่วยรายใหม่ในกลุ่มโรคที่สำคัญ
    ตัวชี้วัด :

     

    2 2.ประชาชนทุกกลุ่มวัยได้รับความรู้ข้อมูลข่าวสารในการเฝ้าระวังและสามารถ
    ตัวชี้วัด :

     

    3 3.ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการดำเนินงานปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มโรคที่สำคัญ
    ตัวชี้วัด :

     

    4 4.พัฒนากระบวนการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคอุบัติใหม่ อุบัติซ้ำอย่างมีประสิทธิภาพ
    ตัวชี้วัด :

     

    5 5.จัดบริการให้สอดคล้องกับการเฝ้าระวังภัยสุขภาพ
    ตัวชี้วัด :

     

    6 6.วัยรุ่นมีทักษะในการดำรงชีวิตในสังคม
    ตัวชี้วัด :

     

    7 7.ผู้ปกครองเด็กและสังคมมีความเข้าใจในการดูแลและสร้างเสริมสุขภาพของตนเองและครอบครัวได้มากขึ้น
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 150
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 150
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.ประชาชนทุกกลุ่มวัยที่มีความรู้ในการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคเพื่อลดการเจ็บป่วยรายใหม่ในกลุ่มโรคที่สำคัญ (2) 2.ประชาชนทุกกลุ่มวัยได้รับความรู้ข้อมูลข่าวสารในการเฝ้าระวังและสามารถ (3) 3.ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการดำเนินงานปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มโรคที่สำคัญ (4) 4.พัฒนากระบวนการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคอุบัติใหม่ อุบัติซ้ำอย่างมีประสิทธิภาพ (5) 5.จัดบริการให้สอดคล้องกับการเฝ้าระวังภัยสุขภาพ (6) 6.วัยรุ่นมีทักษะในการดำรงชีวิตในสังคม (7) 7.ผู้ปกครองเด็กและสังคมมีความเข้าใจในการดูแลและสร้างเสริมสุขภาพของตนเองและครอบครัวได้มากขึ้น

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการสร้างเสริมสุขภาพตามกลุ่มวัย ปี 2560 จังหวัด ยะลา

    รหัสโครงการ 60-L4116-4-2

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวนุรอัยนี มาหาหมัด )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด