กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น ปี 2563
รหัสโครงการ 63-L7010-01-06
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชสายบุรี งานคลินิกวัยใส
วันที่อนุมัติ 2 มีนาคม 2563
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มีนาคม 2563 - 30 มิถุนายน 2563
กำหนดวันส่งรายงาน 31 ตุลาคม 2563
งบประมาณ 66,150.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวมายีดะห์ ดอเลาะ
พี่เลี้ยงโครงการ นางสาวมัสณี เจะ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลตะลุปัน อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว , แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 31 มี.ค. 2563 31 ก.ค. 2563 66,150.00
รวมงบประมาณ 66,150.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 65 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มวัยทำงาน 67 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

สถานการณ์ปัญหาวัยรุ่นหลักๆในพื้นที่อำเภอสายบุรีจังหวัดปัตตานีปัจจุบัน จากการให้บริการคลินิกวัยใสบริการที่เป็นมิตรสำหรับวัยรุ่นและเยาวชน(Youth Friendly Health Service: YFHS) ในโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชสายบุรีได้มีการคัดกรองวัยรุ่นตั้งครรภ์ที่มารับบริการในโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชสายบุรีพบว่าตั้งแต่ปี 2560 - 2562 มีวัยรุ่นตั้งครรภ์ไม่พร้อมจำนวน 16 23 และ 8 รายตามลำดับ ดังนั้นคลินิกวัยใส บริการที่เป็นมิตรสำหรับวัยรุ่นและเยาวชน(Youth Friendly Health Service: YFHS) โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชสายบุรี ร่วมกับกองทุนเทศบาลเมืองตะลุบัน ได้ตระหนักถึงความสำคัญในเรื่องดังกล่าว จึงจัดทำโครงการการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่นขึ้น

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 แกนนำอสม.มีความรู้ความเข้าใจ สามารถดูแลเฝ้าระวังพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศในวัยรุ่นได้อย่างเหมาะสม

ร้อยละ 80 ของแกนนำอสม.มีความรู้ความเข้าใจ สามารถดูแลเฝ้าระวังพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศในวัยรุ่นได้อย่างเหมาะสม

0.00
2 โรงเรียนในเขตเทศบาลมีส่วนร่วมในกิจกรรมรณรงค์ป้องกันการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร

ร้อยละ 80 ของโรงเรียนในเขตเทศบาลมีส่วนร่วมในกิจกรรมรณรงค์ป้องกันการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร

0.00
3 ชุมชนในเขตเทศบาลมีส่วนร่วมในกิจกรรมรณรงค์ป้องกันการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร

ร้อยละ 80 ของชุมชนในเขตเทศบาลมีส่วนร่วมในกิจกรรมรณรงค์ป้องกันการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
วันที่ชื่อกิจกรรมกลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)

วัตถุประสงค์ข้อที่ 1 : แกนนำอสม.มีความรู้ความเข้าใจ สามารถดูแลเฝ้าระวังพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศในวัยรุ่นได้อย่างเหมาะสม

รวม 0 0.00 0 0.00

วัตถุประสงค์ข้อที่ 2 : โรงเรียนในเขตเทศบาลมีส่วนร่วมในกิจกรรมรณรงค์ป้องกันการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร

รวม 0 0.00 0 0.00

วัตถุประสงค์ข้อที่ 3 : ชุมชนในเขตเทศบาลมีส่วนร่วมในกิจกรรมรณรงค์ป้องกันการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร

รวม 0 0.00 0 0.00

ไม่ระบุวัตถุประสงค์

??/??/???? .อบรมให้ความรู้อสม.และผู้นำชุมชนเรื่องการดูแลเฝ้าระวังปัญหาพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศในวัยรุ่น 17,500.00 -
??/??/???? กิจกรรมรณรงค์ป้องกันการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอัน/ป้องกันการซินา 2.1โรงเรียนมัธยมในเขตเทศบาลจำนวน 5 โรง 27,100.00 -
??/??/???? อบรมให้ความรู้กิจกรรม Up To Me เพื่อลดความเสี่ยงในเรื่องเพศ ป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พร้อมและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 21,550.00 -

หมายเหตุ : งบประมาณ และ ค่าใช้จ่าย รวมทุกวัตถุประสงค์อาจจะไม่เท่ากับงบประมาณรวมได้

  1. เขียนโครงการและเสนอโครงการต่อคณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น หรือพื้นที่เทศบาลเมืองตะลุบันเพื่อพิจารณาอนุมัติ     2.ติดต่อประสานหน่วยงานภาคีเครือข่าย ผู้เกี่ยวข้อง จัดประชุม / วางแผน / แต่งตั้งคณะทำงานเพื่อกำหนดรูปแบบกิจกรรมโดยมีรูปแบบกิจกรรมดังนี้     2.1 อบรมให้ความรู้อสม.และผู้นำชุมชนเรื่องการดูแลเฝ้าระวังพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศในวัยรุ่น -ให้ความรู้สถานการณ์ปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น -บรรยาย “รู้จักวัยรุ่น” -กิจกรรม “เส้นชีวิต” -บรรยาย “การพูดคุยกับลูกวัยรุ่น” -กิจกรรม “ย้อนรอยวัยรุ่น” -บรรยาย “ทันลูก ทันไอที” -แนวทางการช่วยเหลือและส่งต่อ     2.2 จัดกิจกรรมรณรงค์ป้องกันการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร         2.2.1 โรงเรียนมัธยมในเขตเทศบาล 5 โรง -ประกวดรูปถ่ายเพื่อใช้จัดทำสื่อรณรงค์การป้องกันการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร/ป้องกันการซินา -ประกวดคำขวัญ/กลอนเกี่ยวกับการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร/ซินา -จัดทำสื่อไวนิลรณรงค์การป้องกันการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควรแจกให้โรงเรียนมัธยมในเขตเทศบาล  โรงเรียนละ 1 แผ่น         2.2.2 ชุมชนเขตเทศบาล 20 ชุมชน -ประกวดรูปถ่ายเพื่อใช้จัดทำสื่อรณรงค์การป้องกันการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร/ป้องกันการซินา -จัดทำสื่อไวนิลรณรงค์การป้องกันการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควรแจกให้ชุมชนๆละ 1 แผ่น

    2.3 อบรมให้ความรู้กิจกรรม Up To Me เพื่อลดความเสี่ยงในเรื่องเพศ ป้องกันการตั้งครรภ์ ไม่พร้อมและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ -บรรยายให้ความรู้โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และสถานการปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น -กิจกรรมชุดที่1 ทางเลือกทางไหน -กิจกรรมชุดที่2 รู้ทันก่อนเลือก -กิจกรรมชุดที่3 เลือกแล้วรับผิดชอบ -สรุปกิจกรรม     3. ติดต่อประสานกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรมโครงการ
      3.1 กิจกรรมที่ 1 กลุ่มเป้าหมายได้แก่ อสม. 20 ชุมชนๆละ 2 คน และผู้นำชุมชนๆละ 1 คนเป็น 60 คน       3.2 กิจกรรมที่ 2 กลุ่มเป้าหมายได้แก่
        3.2.1 โรงเรียนมัธยมศึกษาในเขตเทศบาลจำนวน 5 โรง คือ โรงเรียนสายบุรีแจ้งประชาคาร โรงเรียนดรุณสาสน์วิทยา โรงเรียนสายบุรีอิสลามวิทยา โรงเรียนเทศบาลบางตาหยาด และโรงเรียนเทศบาลกาหยี         3.2.2 ชุมชนในเขตเทศบาล 20 ชุมชน       3.3 กิจกรรมที่ 3 กลุ่มเป้าหมายได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนคู่เครือข่ายOHOS จำนวน 2 โรง คือโรงเรียนสายบุรีแจ้งประชาคาร และโรงเรียนเทศบาลบางตาหยาดโรงละ 30 คน เป็น 60 คน     4. ดำเนินการจัดโครงการ / กิจกรรม ตามที่กำหนด     5. ประเมิน สรุป และรายงานผลการดำเนินงานตามโครงการ

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. อสม.มีความรู้ความเข้าใจ สามารถดูแลเฝ้าระวังพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศในวัยรุ่นได้อย่างเหมาะสม
    1. โรงเรียน นักเรียน และชุมชนมีส่วนร่วมในกิจกรรมป้องกันและแก้ไขปัญหาการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร/ตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น
    2. นักเรียนผู้เข้าโครงการได้รับข้อมูลความรู้ เกิดความตระหนัก และรู้วิธีลดความเสี่ยงที่จะมีเพศสัมพันธ์อันนำไปสู่การตั้งครรภ์ไม่พร้อมและติดโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
    3. สร้างค่านิยมการไม่มีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร
    4. เป็นประชาสัมพันธ์ข่าวสารเพิ่มการเข้าถึงบริการคลินิกวัยใส
    5. การตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่นลดลง
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 19 มี.ค. 2563 15:50 น.