โครงการป้องกันและลดความเสี่ยงเด็กจมน้ำ(ทีมผู้ก่อการดี) ประจำปี 2563
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการป้องกันและลดความเสี่ยงเด็กจมน้ำ(ทีมผู้ก่อการดี) ประจำปี 2563 ”
ตำบลลำใหม่ อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นางสุภานันท์ ดังศรีเทศ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลำใหม่
พฤษภาคม 2563
ชื่อโครงการ โครงการป้องกันและลดความเสี่ยงเด็กจมน้ำ(ทีมผู้ก่อการดี) ประจำปี 2563
ที่อยู่ ตำบลลำใหม่ อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 63-L4141-02-06 เลขที่ข้อตกลง 14/2563
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2563 ถึง 30 พฤษภาคม 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการป้องกันและลดความเสี่ยงเด็กจมน้ำ(ทีมผู้ก่อการดี) ประจำปี 2563 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลลำใหม่ อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลำใหม่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันและลดความเสี่ยงเด็กจมน้ำ(ทีมผู้ก่อการดี) ประจำปี 2563
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการป้องกันและลดความเสี่ยงเด็กจมน้ำ(ทีมผู้ก่อการดี) ประจำปี 2563 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลลำใหม่ อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 63-L4141-02-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2563 - 30 พฤษภาคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 12,850.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลำใหม่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สถานการณ์ในปัจจุบันของประเทศไทยพบว่าการจมน้ำเป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับ 1 ของเด็กไทยที่มีอายุต่ำ กว่า 15 ปี จากข้อมูลของสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข พบว่าทุกๆ 8 ชั่วโมง จะมีเด็กจมน้ำเสียชีวิต 1 คน โดยเฉลี่ยทุก ๆ 1 เดือน จะมีเด็กจมน้ำเสียชีวิตประมาณ 90 คน ซึ่งในช่วง 10 ปี ที่ผ่านมา มีอัตราเด็กจมน้ำเสียชีวิตถึง 10,932 คน โดยเฉพาะช่วงนี้เป็นช่วงปิดเทอมผู้ปกครองส่วนใหญ่จะให้พี่ดูแลน้องหรือผู้สูงอายุดูแลเด็กและมักจะพบว่าในช่วงปิดภาคเรียน (มีนาคม – พฤษภาคม ) ของทุกปี เป็นช่วงที่มีสถิติเด็กจมน้ำมากที่สุด
สำหรับพื้นที่ในเขตรับผิดชอบ องค์การบริหารส่วนตำบลลำใหม่ แม้จะไม่มีสถิติเด็กจมน้ำเสียชีวิต แต่จากสภาพพื้นที่ ที่มีแหล่งน้ำซึ่งเป็นพื้นที่เสี่ยงในการที่จะเกิดเด็กจมน้ำได้นั้น มีมากถึง 6 แห่ง ดังนั้นหากจะมีการป้องกัน การจมน้ำของเด็ก และกลุ่มเด็กๆ ซึ่งมีความเสี่ยง กอปรกับผู้ปกครองและผู้ดูแลเด็ก ไม่มีความระมัดระวังในการดูแลลูกหลาน ปล่อยให้ไปเล่นน้ำตามลำพัง ซึ่งอาจเป็นสาเหตุทำให้เด็กจมน้ำเสียชีวิตได้ ดังนั้น งานป้องกันและบรรเทา สาธารณภัย องค์การบริหารส่วนตำบลลำใหม่ เล็งเห็นถึงปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการป้องกันและลดความเสี่ยง เด็กจมน้ำ (ทีมผู้ก่อการดี) ประจำปี 2563 เพื่อเด็กและประชาชนได้มีการฝึกทักษะการว่ายน้ำและการช่วยผู้ประสบภัยทางน้ำต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ข้อที่ 1 เพื่อเป็นการป้องกันเด็กกลุ่มเสี่ยงเสียชีวิตจากการจมน้ำ
- ข้อที่ 2 เพื่อให้เด็กกลุ่มเสี่ยงสามารถว่ายน้ำเป็นและช่วยเหลือตัวเองได้ จากการจมน้ำ
- ข้อที่ 3 เพื่อประชาชนและเด็กรู้วิธีการช่วยเหลือคนจมน้ำอย่างถูกวิธี และปลอดภัย
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- บรรยายให้ความรู้
- ฝึกปฏิบัติ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
40
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ลดปัญหาเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี เสียชีวิตจากการจมน้ำ
- ทีมผู้ก่อการดี(ประชาชนทั่วไป) และเด็กมีความรู้และทักษะในการเอาชีวิตรอดในน้ำ
- ทีมผู้ก่อการดี(ประชาชนทั่วไป) และเด็กมีความรู้พื้นฐานในการช่วยเหลือผู้จมน้ำและการปฐมพยาบาลเบื้องต้น
- ทีมผู้ก่อการดี(ประชาชนทั่วไป) และเด็กสามารถแจ้งเหตุ,ระบุสถานที่เกิดเหตุให้กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้อย่างถูกต้อง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ไม่สามารถดำเนินโครงการตามที่กำหนดไว้ได้ เนื่องจากมีสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19) ไม่สามารถใช้สระน้ำได้
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
ข้อที่ 1 เพื่อเป็นการป้องกันเด็กกลุ่มเสี่ยงเสียชีวิตจากการจมน้ำ
ตัวชี้วัด : - ร้อยละ 95 ไม่มีเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี เสียชีวิตจากการจมน้ำ
95.00
2
ข้อที่ 2 เพื่อให้เด็กกลุ่มเสี่ยงสามารถว่ายน้ำเป็นและช่วยเหลือตัวเองได้ จากการจมน้ำ
ตัวชี้วัด : - ร้อยละ 95 เด็กกลุ่มเสี่ยงที่เข้าร่วมการอบรมสามารถว่ายน้ำเป็นและช่วยเหลือตัวเองได้ จากการจมน้ำ
95.00
3
ข้อที่ 3 เพื่อประชาชนและเด็กรู้วิธีการช่วยเหลือคนจมน้ำอย่างถูกวิธี และปลอดภัย
ตัวชี้วัด : - ทีมผู้ก่อการดี(ประชาชนทั่วไป) และเด็กมีความรู้ความสามารถในการช่วยเหลือเด็กจมอย่างถูกวิธี
95.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
40
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
40
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1 เพื่อเป็นการป้องกันเด็กกลุ่มเสี่ยงเสียชีวิตจากการจมน้ำ (2) ข้อที่ 2 เพื่อให้เด็กกลุ่มเสี่ยงสามารถว่ายน้ำเป็นและช่วยเหลือตัวเองได้ จากการจมน้ำ (3) ข้อที่ 3 เพื่อประชาชนและเด็กรู้วิธีการช่วยเหลือคนจมน้ำอย่างถูกวิธี และปลอดภัย
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) บรรยายให้ความรู้ (2) ฝึกปฏิบัติ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการป้องกันและลดความเสี่ยงเด็กจมน้ำ(ทีมผู้ก่อการดี) ประจำปี 2563 จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 63-L4141-02-06
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสุภานันท์ ดังศรีเทศ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการป้องกันและลดความเสี่ยงเด็กจมน้ำ(ทีมผู้ก่อการดี) ประจำปี 2563 ”
ตำบลลำใหม่ อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นางสุภานันท์ ดังศรีเทศ
พฤษภาคม 2563
ที่อยู่ ตำบลลำใหม่ อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 63-L4141-02-06 เลขที่ข้อตกลง 14/2563
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2563 ถึง 30 พฤษภาคม 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการป้องกันและลดความเสี่ยงเด็กจมน้ำ(ทีมผู้ก่อการดี) ประจำปี 2563 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลลำใหม่ อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลำใหม่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันและลดความเสี่ยงเด็กจมน้ำ(ทีมผู้ก่อการดี) ประจำปี 2563
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการป้องกันและลดความเสี่ยงเด็กจมน้ำ(ทีมผู้ก่อการดี) ประจำปี 2563 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลลำใหม่ อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 63-L4141-02-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2563 - 30 พฤษภาคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 12,850.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลำใหม่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สถานการณ์ในปัจจุบันของประเทศไทยพบว่าการจมน้ำเป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับ 1 ของเด็กไทยที่มีอายุต่ำ กว่า 15 ปี จากข้อมูลของสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข พบว่าทุกๆ 8 ชั่วโมง จะมีเด็กจมน้ำเสียชีวิต 1 คน โดยเฉลี่ยทุก ๆ 1 เดือน จะมีเด็กจมน้ำเสียชีวิตประมาณ 90 คน ซึ่งในช่วง 10 ปี ที่ผ่านมา มีอัตราเด็กจมน้ำเสียชีวิตถึง 10,932 คน โดยเฉพาะช่วงนี้เป็นช่วงปิดเทอมผู้ปกครองส่วนใหญ่จะให้พี่ดูแลน้องหรือผู้สูงอายุดูแลเด็กและมักจะพบว่าในช่วงปิดภาคเรียน (มีนาคม – พฤษภาคม ) ของทุกปี เป็นช่วงที่มีสถิติเด็กจมน้ำมากที่สุด
สำหรับพื้นที่ในเขตรับผิดชอบ องค์การบริหารส่วนตำบลลำใหม่ แม้จะไม่มีสถิติเด็กจมน้ำเสียชีวิต แต่จากสภาพพื้นที่ ที่มีแหล่งน้ำซึ่งเป็นพื้นที่เสี่ยงในการที่จะเกิดเด็กจมน้ำได้นั้น มีมากถึง 6 แห่ง ดังนั้นหากจะมีการป้องกัน การจมน้ำของเด็ก และกลุ่มเด็กๆ ซึ่งมีความเสี่ยง กอปรกับผู้ปกครองและผู้ดูแลเด็ก ไม่มีความระมัดระวังในการดูแลลูกหลาน ปล่อยให้ไปเล่นน้ำตามลำพัง ซึ่งอาจเป็นสาเหตุทำให้เด็กจมน้ำเสียชีวิตได้ ดังนั้น งานป้องกันและบรรเทา สาธารณภัย องค์การบริหารส่วนตำบลลำใหม่ เล็งเห็นถึงปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการป้องกันและลดความเสี่ยง เด็กจมน้ำ (ทีมผู้ก่อการดี) ประจำปี 2563 เพื่อเด็กและประชาชนได้มีการฝึกทักษะการว่ายน้ำและการช่วยผู้ประสบภัยทางน้ำต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ข้อที่ 1 เพื่อเป็นการป้องกันเด็กกลุ่มเสี่ยงเสียชีวิตจากการจมน้ำ
- ข้อที่ 2 เพื่อให้เด็กกลุ่มเสี่ยงสามารถว่ายน้ำเป็นและช่วยเหลือตัวเองได้ จากการจมน้ำ
- ข้อที่ 3 เพื่อประชาชนและเด็กรู้วิธีการช่วยเหลือคนจมน้ำอย่างถูกวิธี และปลอดภัย
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- บรรยายให้ความรู้
- ฝึกปฏิบัติ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 40 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ลดปัญหาเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี เสียชีวิตจากการจมน้ำ
- ทีมผู้ก่อการดี(ประชาชนทั่วไป) และเด็กมีความรู้และทักษะในการเอาชีวิตรอดในน้ำ
- ทีมผู้ก่อการดี(ประชาชนทั่วไป) และเด็กมีความรู้พื้นฐานในการช่วยเหลือผู้จมน้ำและการปฐมพยาบาลเบื้องต้น
- ทีมผู้ก่อการดี(ประชาชนทั่วไป) และเด็กสามารถแจ้งเหตุ,ระบุสถานที่เกิดเหตุให้กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้อย่างถูกต้อง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ไม่สามารถดำเนินโครงการตามที่กำหนดไว้ได้ เนื่องจากมีสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19) ไม่สามารถใช้สระน้ำได้
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | ข้อที่ 1 เพื่อเป็นการป้องกันเด็กกลุ่มเสี่ยงเสียชีวิตจากการจมน้ำ ตัวชี้วัด : - ร้อยละ 95 ไม่มีเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี เสียชีวิตจากการจมน้ำ |
95.00 |
|
||
2 | ข้อที่ 2 เพื่อให้เด็กกลุ่มเสี่ยงสามารถว่ายน้ำเป็นและช่วยเหลือตัวเองได้ จากการจมน้ำ ตัวชี้วัด : - ร้อยละ 95 เด็กกลุ่มเสี่ยงที่เข้าร่วมการอบรมสามารถว่ายน้ำเป็นและช่วยเหลือตัวเองได้ จากการจมน้ำ |
95.00 |
|
||
3 | ข้อที่ 3 เพื่อประชาชนและเด็กรู้วิธีการช่วยเหลือคนจมน้ำอย่างถูกวิธี และปลอดภัย ตัวชี้วัด : - ทีมผู้ก่อการดี(ประชาชนทั่วไป) และเด็กมีความรู้ความสามารถในการช่วยเหลือเด็กจมอย่างถูกวิธี |
95.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 40 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 40 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1 เพื่อเป็นการป้องกันเด็กกลุ่มเสี่ยงเสียชีวิตจากการจมน้ำ (2) ข้อที่ 2 เพื่อให้เด็กกลุ่มเสี่ยงสามารถว่ายน้ำเป็นและช่วยเหลือตัวเองได้ จากการจมน้ำ (3) ข้อที่ 3 เพื่อประชาชนและเด็กรู้วิธีการช่วยเหลือคนจมน้ำอย่างถูกวิธี และปลอดภัย
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) บรรยายให้ความรู้ (2) ฝึกปฏิบัติ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการป้องกันและลดความเสี่ยงเด็กจมน้ำ(ทีมผู้ก่อการดี) ประจำปี 2563 จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 63-L4141-02-06
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสุภานันท์ ดังศรีเทศ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......