โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหา (กรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติฉุกเฉินในพืันที่) ประจำปี 2563
ชื่อโครงการ | โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหา (กรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติฉุกเฉินในพืันที่) ประจำปี 2563 |
รหัสโครงการ | 63-L4140-5-1 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 5 สนับสนุนกรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติ |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยงานสาธารณสุขอื่นของ อปท. เช่น กองสาธารณสุขของเทศบาล |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | องค์การบริหารส่วนตำบลลำพะยา |
วันที่อนุมัติ | 28 กุมภาพันธ์ 2563 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 3 มีนาคม 2563 - 30 กันยายน 2563 |
กำหนดวันส่งรายงาน | |
งบประมาณ | 49,203.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางสาวสุดา รัตนวรรณ |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลลำพะยา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา |
ละติจูด-ลองจิจูด | 6.584,101.162place |
งวด | วันที่งวดโครงการ | วันที่งวดรายงาน | งบประมาณ (บาท) | |||
---|---|---|---|---|---|---|
จากวันที่ | ถึงวันที่ | จากวันที่ | ถึงวันที่ | |||
1 | 0.00 | |||||
รวมงบประมาณ | 0.00 |
คำเตือน : รวมงบประมาณของทุกงวด (0.00 บาท) ไม่เท่ากับ งบประมาณโครงการ (49,203.00 บาท)
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 1000 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง : |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
ด้วยองค์การบริหารส่วนตำบลลำพะยาได้ดำเนินงานกองทุนหลกัประกันสัขภาพภระดับท้องถิ่นหรอืพื้นที่เพ่อ่สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุข ในการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค และฟื้นฟูสขภาพสำหรับประชาชนทุกคนมาอย่างต่อเนื่องและตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนทื้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรอืพื้นที่ พ.ศ. 2561 ข้อ 10(5) กรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติในพื้นที่ให้คณะกรรมการกองทุนพิจารณาอนุมัติจากเงินกองทุน เพื่อสนับสนุุนและส่งเสริมกิจกรรมในการป้องกันและแก้ไขปัญหาสาธารณสุขไดั้ตามความจำเป็น เหมาะสมและทันต่อสถานการณ์ได้ ปุุัจจุบันบัญหาสาธารณภัย ภัยพิบัติเกิดขึันมากมายได้ทุกพื้นที่ของประเทศและของโลก ยังพบว่าแนวโน้มการเกิดโรคติดต่ออับัติใหม่ อบัติซ้ำมีเพิ่มขึ้น เช่น โรคชิกนคุนยา ไข้เลือดออก โรคมาลาเรีย โรคซาร์ส โรคไข้หวัดนก โรคมือเท้าปาก โรคตาแดง โรติดเชือไวรัสโคโรนา 2019 COVID 19 โรคติดต่อที่อุบัติขินใหม่ เป็นต้น ทั้งนี้สาเหตัมาจากปัจจัยหลายประการ ได้แก่ การเปลี่ยนแปลงของตัวเช้ือโรค ภาวะโลกร้อนทำให้การแพร่ระบาดของโรคเป็นไปได้ร่วดเร็วและกว้างขวาง ซึ่งจะส่งผลกับประชาชนที่มีโรคทางเดินหายใจ หายใจไม่สะดวก ในช่วงเดือนธนวาคมของทุกปี มีบางหมู่บ้านในตำบลลำพะยา ประสบปัญหาไช้หวัด โรคชิกุนคุนยา โรคไข้เลือดออก โรคมือเท้้าปาก ลแะเพื่อป้้องกันโรคที่อับัติขึ้นใหม่ เช่น โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา เพื่อการปฏิบััติงานสอดคล้องกับนโยบายด้านสาธารณสุข กองทุุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ลำพะยา ได้ให้ความสำคุัญเกี่ยวกับการป้องกันดูแลสุขภาพของประชาชน จุึงไดีดำเนินโครงกำารป้องกันและแก้ไขปัญหากรณีเกิดโรคระลบาดหรือภัยพิบัติฉุกเฉินในพื้นที่เืในการป้องกันควงบคุมโรคไม่ให้เกิดการระบาดในวงกว้าง และให้ความรู้แก่ประชาชนเพื่อลดผลกระทบจากการเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติต่างๆ ด้านสาธารสุขในพื้นที่
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ประชาชนมีความรู้เกี่ยวกับโรคติดต่อและการป้องกัน ประชาชนมีความรู้เกี่ยวกับโรคติดต่อและการป้องกันและควบคุมโีรคติดต่่อร้อยละ 60 |
0.00 | |
2 | เพื่อส่งเสริมสุขภาพ ปอ้งกันโรค รักษาพยาบาล และฟื้นฟูสมรรถภาพประชาชนในระหว่างเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติได้ รักษาพบาบาล รักษาพบาบาล และฟื้นฟูสมรรถภาพประชาชนระหว่างกอ่นและหลังเกิดโรคระบาดหรอืภัยพิบัติ ตามความจำเป็นและเหมาะสม ร้อยละ 802 |
0.00 | |
3 | เพื่อให้การช่วยเหลือและสนับสนุนการดำเนินงานอื่นๆ ในการดูแลสุขภาพประชาชนทีไ่ด้รับผลกระทบจากโรคระบาดหรือภัยพิบัติได้ทันสถานการณ์และทั่วถึง ร้อละ 80 ครัวเรือที่ได้รับผลกระทบจากโรคระบาดหรอภัยพิบัติได้รับช่วยเหลือ บรรเทาปัญหาความเดือดร้อน สนับสนุนการดำเนินงานอื่นๆ ในการดูแลสุขภาพได้อย่างทันสถานการณ์ |
0.00 | |
4 | เพื่อลดอัตราป่วย ภาวะแทรกซ้อนและผลกระทบจากโรคระบาดหรือภัยพิบัติ อัตราการป่วยด้วยโรคและภัยสุขภาพลดลง |
0.00 |
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
คงเหลือ (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรม | 170 | 47,050.00 | 0 | 0.00 | 47,050.00 | |
6 มี.ค. 63 | อบรมให้ความรู้แก่ประชาชนในพื้นที่เกี่ยวกับโรคติดต่อหรือโรคระบาดหรือโรคอุบัติใหม่ | 70 | 17,000.00 | - | - | ||
23 มี.ค. 63 - 30 ก.ย. 63 | โครงการป้องกันการเกิดโรคติดต่ออับุัติใหม่หรือเกิดซื้าในพื้นที่ | 100 | 30,050.00 | - | - | ||
รวมทั้งสิ้น | 170 | 47,050.00 | 0 | 0.00 | 47,050.00 |
อบรมให้ความรู้แก่ประชาชนจำนวน 50 คน
1.ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 3 ชม.ๆ 600 บาท เป็นเงิน 1,800 บาท
2.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 50 คนๆ ละ 25 บาท 1 มื้อ
เป็นเงิน 1,250 บาท
3. ค่าป้ายไวนิลโครงการ จำนวน 1 ป้าย เป็นเงิน 800 บาท
4.ค่าวัสดุในการฝึกอบรม เป็นเงิน 7,000 บาท
อบรมให้ความรู้แก่เด็กและเยาวชน 50 คน
1.ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 4 ชม.ๆ 600 บาท เป็นเงิน 2,400 บาท
2.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 50 คนๆ ละ 25 บาท 2 มื้อ
เป็นเงิน 2,500 บาท
3.ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 50 คนๆ ละ 50 บาท 1 มื้อ เป็นเงิน 2,500 บาท
4. ค่าป้ายไวนิลโครงการ จำนวน 1 ป้าย เป็นเงิน 800 บาท
5.ค่าวัสดุในการจัดอบรม เป็นเงิน 7,000บาท
6.ค่าป้ายไวนิล ประชาสัมพันธ์ จำนวน 4 ป้าย
(ขนาด 1.2 เมตร x 2.4 เมตร) ราคาผืนละ 800 บาท เป็นเงิน 4,000 บาท
รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 30,050 บาท
1.ประชาชนมีความรู้และทักษะสามารถดูแลตัวเองและคนในครอบครัวให้ปลอดภัยจากโรคติดต่อ 2.ลดอัตราการเกิดโรคติดต่อ ที่เป็นปัญหาในชุมชน 3.มีกลุ่มแกนนำในการติดตามดูแลและป้องกันการเกิดโรคติดต่อในชุมชน
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 23 มี.ค. 2563 11:06 น.