กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการป้องกันการแพร่ระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) ”
ตำบลควนโดน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล



หัวหน้าโครงการ
นางสาววณิตา มาลินี




ชื่อโครงการ โครงการป้องกันการแพร่ระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19)

ที่อยู่ ตำบลควนโดน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 63-L8406-05-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 20 มีนาคม 2563 ถึง 31 มีนาคม 2563

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการป้องกันการแพร่ระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลควนโดน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ควนโดน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันการแพร่ระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการป้องกันการแพร่ระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลควนโดน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 63-L8406-05-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 20 มีนาคม 2563 - 31 มีนาคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 32,406.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ควนโดน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากสถานการณ์การระบาดของโรคไวรัสโควิด 2019 ซึ่งมีการประกาศกระทรวงสาธารณสุขให้ โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) เป็นโรคร้ายแรง ทำให้เกิดการตื่นตระหนกของประชาชนทั่วโลกและคนไทย ซึ่งพบการระบาดไปหลายประเทศส่งผลให้มีผู้เสียชีวิตจำนวนมาก ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจสังคมอย่างรุนแรง สถานการณ์การระบาดกำลังแพร่กระจายยังไม่สามารถควบคุมได้สาเหตุการเสียชีวิตส่วนใหญ่ตัวไวรัส COVID-19 จะทำให้เกิดการไข้สูง จาม ไอ การเอกสับของปอดและเยื้อหุ้มปอดอย่างรุนแรง แต่อย่างไรก็ตามอัตราการตายไม่ได้สูงมากนักเพียง 1-3% น้อยกว่า SAR ซึ่งมีอัตราการตาย 10%
สำหรับสถานการณ์การแรพ่ระบาดในประเทศไทย ณ วันที่ 17 มีนาคม 2563 ยอดผู้ติดเชื้อในประเทศไทย เพิ่ม 30 ราย ยอดรวมสะสม 177 ราย และยังมีรอยืนยันผลทางห้องปฏิบัติการ จำนวน 22 ราย รักษาหายกลับบ้านแล้ว 41 ราย รักษาอยู่ในโรงพยาบาล 135 ราย เสียชีวิต 1 ราย ดังนั้นมาตราการป้องกันไม่ให้ติดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) ถือว่าจำเป็นด้วยการดำเนินมาตราการรักษษร่างกายให้แข็งแรง ออกกำลังกายเพื่อมิให้ป่วย การป้องกันตนเอง เช่นหลีกเลี่ยงการเดินทางไปในประเทศหรือสถานที่ที่มีคนพลุกพล่าน การล้างมือบ่อยๆให้สะอาดอย่างถูกต้องด้วยแอลกอออล์เจล สบู่ การสวมหน้ากากอนามัยอย่างถูกวิธี กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารส่วนตำบลควนโดน เห็นความสำคัญกับมาตราการในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) เพื่อลดการแพร่ระบาดของโรคดังกล่าว และองค์การบริหารส่วนตำบลควนโดนได้รับการจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563 งบกลาง รายการเงินสำรองจ่ายเพื่อกรณีฉุกเฉินหรือจำเป็น ดำเนินการตามแนวทางปฏิบัติการจัดหาพัสดุตามโครงการพลังคนไทยร่วมใจป้องกันไวรัสโคโรนา (COVID-19) ตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 3 มีนาคม 2563 ซึ่งได้รับยอดจัดสรรจำนวนเงิน 22,248.-บาท ให้ดำเนินการจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์จัดทำหน้ากากอนามัยให้ได้ จำนวน 4,944 ชิ้น โดยงบประมาณดังกล่าวจัดทำหน้ากากได้จำนวน 4,200 ชิ้นซึ่งยังไม่เพียงพอและจัดทำหน้ากากไม่ทันต่อสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคซึ่งสถานการณ์ปัจจุบันหน้ากากอนามัย และเจลแอลกอฮอล์กำลังขาดแคลน ประชาชนเกิดความตระหนกและมีความกังวลเรื่องความปลอด กองสาธารณสุขฯมีความจำเป็นเร่งด่วนในการจัดทำหน้าอนามัยให้กับประชาชนในพื้นที่เพื่อให้ทันต่อสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคดังกล่าวต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อสร้างความเข้าใจวิธีการใช้หน้ากากอนามัยอย่างถูกต้องในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19)

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. การจัดทำหน้ากากอนามัย
  2. อสม.เยี่ยมบ้าน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 4,724
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ประชาชนในพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลควนโดนได้มีหน้ากากอนามัยใช้ และมีความรู้ความเข้าใจในการสวมหน้ากากอนามัยที่ถูกต้องและการล้างมือที่ถูกวิธีในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19)


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. การจัดทำหน้ากากอนามัย

วันที่ 20 มีนาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

  • จัดหาวัสดุอุปกรณ์ในการจัดทำหน้ากากอนามัย (แบบผ้า)
  • จัดทำหน้ากากอนามัย (แบบผ้า)
  • ส่งมอบหน้ากากอนามัยให้แต่ละหมู่บ้าน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชาชนในพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลควนโดนได้มีหน้ากากอนามัยใช้ และมีความรู้ความเข้าใจในการสวมหน้ากากอนามัยที่ถูกต้องและการล้างมือที่ถูกวิธีในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19)

 

0 0

2. อสม.เยี่ยมบ้าน

วันที่ 31 มีนาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

1.อบต.ควนโดน มอบหน้ากากอนามัยให้กับ อสม.แต่ละหมู่บ้าน
2.อสม.เยี่ยมบ้านในเขตรับผิดชอบเพื่อให้หน้ากากอนามัยแก่ประชาชนกลุ่มเสี่ยง พร้อมทั้งให้ความรู้ในการสวมหน้ากากที่ถูกต้อง และการล้างมือที่ถูกวิธีทั้งการใช้เจลแอลกอฮอล์และสบู่
3.มอบเจลแอลกอฮอล์ให้กับมัสยิดและ ศพด.ในเขตพื้นที่ อบต.ควนโดน มีค่าใช้จ่ายดังนี้
3.1จัดซื้อเจลแอลกอฮอล์ล้างมือ ขนาด 400 ml จำนวน 20 ขวดๆละ 290.-บาท เป็นเงิน 5,800 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชาชนในพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลควนโดนได้มีหน้ากากอนามัยใช้ และมีความรู้ความเข้าใจในการสวมหน้ากากอนามัยที่ถูกต้องและการล้างมือที่ถูกวิธีในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19)

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อสร้างความเข้าใจวิธีการใช้หน้ากากอนามัยอย่างถูกต้องในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19)
ตัวชี้วัด : ประชาชนในพื้นที่มีหน้ากากอนามัยใช้เองและสามารถสวมหน้ากากอย่างถูกต้อง
4724.00 0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 4724 4724
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 4,724 4,724
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างความเข้าใจวิธีการใช้หน้ากากอนามัยอย่างถูกต้องในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19)

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การจัดทำหน้ากากอนามัย (2) อสม.เยี่ยมบ้าน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการป้องกันการแพร่ระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 63-L8406-05-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาววณิตา มาลินี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด