โครงการเด็กน้อยสุขภาพดีด้วยวัคซีนครบบตามเกณฑ์
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการเด็กน้อยสุขภาพดีด้วยวัคซีนครบบตามเกณฑ์ ”
ตำบลตะโละแมะนา อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นางภัทรพร รัตนซ้อน
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโละแมะนา
เมษายน 2563
ชื่อโครงการ โครงการเด็กน้อยสุขภาพดีด้วยวัคซีนครบบตามเกณฑ์
ที่อยู่ ตำบลตะโละแมะนา อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 63-2986-06 เลขที่ข้อตกลง 04/2563
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2563 ถึง 30 เมษายน 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเด็กน้อยสุขภาพดีด้วยวัคซีนครบบตามเกณฑ์ จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตะโละแมะนา อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโละแมะนา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเด็กน้อยสุขภาพดีด้วยวัคซีนครบบตามเกณฑ์
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเด็กน้อยสุขภาพดีด้วยวัคซีนครบบตามเกณฑ์ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตะโละแมะนา อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 63-2986-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2563 - 30 เมษายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 17,325.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโละแมะนา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การได้รับบริการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคเป็นสิทธิขั้นพื้นฐานของเด็ก เด็กทุกคนในประเทศไทยควรได้รับวัคซีนขั้นพื้นฐานครบทุกชนิดตามกำหนดของกระทรวงสาธารณสุข ซึ่งได้กำหนดให้เด็กอายุต่ำกว่า ๕ ปี ต้องได้รับวัคซีนป้องกันวัณโรค คอตีบ บาดทะยัก ไอกรน ตับอักเสบบี ไข้สมองอักเสบ หัด หัดเยอรมัน คางทูม และโปลิโอ ตามเกณฑ์ที่กำหนดไว้ซึ่งรวมถึงการได้รับวัคซีนกระตุ้นตามกำหนดที่เหมาะสมสำหรับวัคซีนแต่ละชนิดด้วย การเร่งรัดติดตามให้เด็กกลุ่มเป้าหมายทุกคนได้รับการฉีดวัคซีนครบตามเกณฑ์และให้ครอบคลุมตามแผนที่วางไว้จึงเป็นสิ่งสำคัญที่จะต้องดำเนินการ การบริการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคจะต้องจัดให้ประชาชนได้รับความสะดวก และปลอดภัย ต้องดำเนินการให้ครอบคลุมประชากรกลุ่มเป้าหมายในระดับสูงที่สุดและมีความต่อเนื่องตลอดไป กระทรวงสาธารณสุขพยายามป้องกันประชาชนจากโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนให้ได้มากที่สุด โดยการเพิ่มชนิดของวัคซีนที่ใช้ ทั้งนี้โดยความเหมาะสมกับสถานการณ์ทางระบาดวิทยาของโรค และกำลังทรัพยากรด้านสาธารณสุขของประเทศและต้องดำเนินการในทุกพื้นที่ โดยประสานสอดคล้องกับแผนงานหรือโครงการด้านสาธารณสุขอื่นๆ เช่น งานอนามัยโรงเรียน งานป้องกันและควบคุมโรคติดต่ออื่นๆ ทั้งนี้ เพื่อให้ทุกงานที่เกี่ยวข้องมีประสิทธิภาพสูงที่สุด และเกิดประโยชน์สูงสุดแก่ประชาชน จากการสำรวจข้อมูลและผลการดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคของศูนย์สุขภาพชุมชนตำบลตะโละแมะนา ในปีงบประมาณ ๒๕๖๒ พบว่า ผลงาน ความครอบคลุมของเด็กอายุครบ 1 ปีที่ได้รับวัคซีน BCG ,HBV1,DTP-HBV3,โปลิโอ3, MMR1,IPV ตามลำดับ ร้อยละ 98.28, 98.28, 68.97, 68.97, 82.76 และ 70.69 ความครอบคลุมของเด็กอายุครบ 2 ปีที่ได้รับวัคซีน DTP4,โปลิโอ4,JE ตามลำดับ ร้อยละ 69.09 , 69.09 และ 74.55 ความครอบคลุมของเด็กอายุครบ 3 ปีที่ได้รับวัคซีน JE,MMR2 ตามลำดับ ร้อยละ 36.21 และ 70.69 ความครอบคลุมของเด็กอายุครบ 5 ปีที่ได้รับวัคซีน DTP5,โปลิโอ5 ตามลำดับ 38.98 และ 37.29 จะเห็นว่าต่ำกว่าเกณฑ์ที่กระทรวงกำหนดไว้มาก คือร้อยละ ๙๐ เพื่อให้การดำเนินงานบรรลุเป้าหมายตามแผนจะต้องเร่งรีบให้วัคซีนตามที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนดไว้ เพื่อเพิ่มภูมิคุ้มกันโรคให้กับเด็ก เพื่อความปลอดภัยจากโรคที่กำลังระบาดในพื้นที่ โดยเฉพาะโรคคอตีบ และโรคหัด
ดังนั้น ศูนย์สุขภาพชุมชนตำบลตะโละแมะนา ได้ตระหนักและเล็งเห็นถึงความสำคัญและความจำเป็นในการให้เด็กได้วัคซีนครบตามเกณฑ์ของกระทรวงสาธารณสุข โดยเน้นความสำคัญของพ่อแม่ ผู้ปกครองและ อสม ให้มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องของความสำคัญของวัคซีนเพื่อที่ป้องกันความรุนแรงที่อาจเกิดจากโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนอย่างมีประสิทธิภาพทันท่วงที
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.1 เพื่อให้เด็ก 0-5 ปี ในเขตรับผิดชอบได้รับวัคซีนขั้นพื้นฐานครบตามเกณฑ์ที่กำหนด 1.2 เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขมีส่วนร่วมในการค้นหาและติดตามเด็กที่ไม่มารับวัคซีนตามนัด
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1. อบรมเชิงปฏิบัติการ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
343
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ไม่เกิดโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนพื้นฐาน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. 1. อบรมเชิงปฏิบัติการ
วันที่ 21 ธันวาคม 2563กิจกรรมที่ทำ
อบรมเชิงปฏิบัติการ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ไม่เกิดโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนพื้นฐาน
50
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1.1 เพื่อให้เด็ก 0-5 ปี ในเขตรับผิดชอบได้รับวัคซีนขั้นพื้นฐานครบตามเกณฑ์ที่กำหนด 1.2 เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขมีส่วนร่วมในการค้นหาและติดตามเด็กที่ไม่มารับวัคซีนตามนัด
ตัวชี้วัด : - ความครอบคลุมของเด็กอายุครบ 1 ปีที่ได้รับวัคซีน BCG ,HBV1 ร้อยละ 100
- ความครอบคลุมของเด็กอายุครบ 1 ปีที่ได้รับวัคซีน DTP-HBV3,โปลิโอ3 ร้อยละ 90
- ความครอบคลุมของเด็กอายุครบ 1 ปีที่ได้รับวัคซีน MMR1 ร้อยละ 95
- ความครอบคลุมของเด็กอายุครบ 1 ปีที่ได้รับวัคซีน IPV ร้อยละ 90
- ความครอบคลุมของเด็กอายุครบ 2 ปีที่ได้รับวัคซีน DTP4 ร้อยะละ 90
- ความครอบคลุมของเด็กอายุครบ 2 ปีที่ได้รับวัคซีน โปลิโอ4 ร้อยละ 90
- ความครอบคลุมของเด็กอายุครบ 2 ปีที่ได้รับวัคซีน JE ร้อยละ 90
- ความครอบคลุมของเด็กอายุครบ 3 ปีที่ได้รับวัคซีน JE ร้อยละ 90
- ความครอบคลุมของเด็กอายุครบ 3 ปีที่ได้รับวัคซีน MMR2 ร้อยละ 95
- ความครอบคลุมของเด็กอายุครบ 5 ปีที่ได้รับวัคซีน DTP5 ร้อยละ 90
- ความครอบคลุมของเด็กอายุครบ 5 ปีที่ได้รับวัคซีน โปลิโอ5 ร้อยละ 90
90.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
343
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
343
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.1 เพื่อให้เด็ก 0-5 ปี ในเขตรับผิดชอบได้รับวัคซีนขั้นพื้นฐานครบตามเกณฑ์ที่กำหนด 1.2 เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขมีส่วนร่วมในการค้นหาและติดตามเด็กที่ไม่มารับวัคซีนตามนัด
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. อบรมเชิงปฏิบัติการ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการเด็กน้อยสุขภาพดีด้วยวัคซีนครบบตามเกณฑ์ จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 63-2986-06
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางภัทรพร รัตนซ้อน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการเด็กน้อยสุขภาพดีด้วยวัคซีนครบบตามเกณฑ์ ”
ตำบลตะโละแมะนา อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นางภัทรพร รัตนซ้อน
เมษายน 2563
ที่อยู่ ตำบลตะโละแมะนา อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 63-2986-06 เลขที่ข้อตกลง 04/2563
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2563 ถึง 30 เมษายน 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเด็กน้อยสุขภาพดีด้วยวัคซีนครบบตามเกณฑ์ จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตะโละแมะนา อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโละแมะนา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเด็กน้อยสุขภาพดีด้วยวัคซีนครบบตามเกณฑ์
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเด็กน้อยสุขภาพดีด้วยวัคซีนครบบตามเกณฑ์ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตะโละแมะนา อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 63-2986-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2563 - 30 เมษายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 17,325.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโละแมะนา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การได้รับบริการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคเป็นสิทธิขั้นพื้นฐานของเด็ก เด็กทุกคนในประเทศไทยควรได้รับวัคซีนขั้นพื้นฐานครบทุกชนิดตามกำหนดของกระทรวงสาธารณสุข ซึ่งได้กำหนดให้เด็กอายุต่ำกว่า ๕ ปี ต้องได้รับวัคซีนป้องกันวัณโรค คอตีบ บาดทะยัก ไอกรน ตับอักเสบบี ไข้สมองอักเสบ หัด หัดเยอรมัน คางทูม และโปลิโอ ตามเกณฑ์ที่กำหนดไว้ซึ่งรวมถึงการได้รับวัคซีนกระตุ้นตามกำหนดที่เหมาะสมสำหรับวัคซีนแต่ละชนิดด้วย การเร่งรัดติดตามให้เด็กกลุ่มเป้าหมายทุกคนได้รับการฉีดวัคซีนครบตามเกณฑ์และให้ครอบคลุมตามแผนที่วางไว้จึงเป็นสิ่งสำคัญที่จะต้องดำเนินการ การบริการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคจะต้องจัดให้ประชาชนได้รับความสะดวก และปลอดภัย ต้องดำเนินการให้ครอบคลุมประชากรกลุ่มเป้าหมายในระดับสูงที่สุดและมีความต่อเนื่องตลอดไป กระทรวงสาธารณสุขพยายามป้องกันประชาชนจากโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนให้ได้มากที่สุด โดยการเพิ่มชนิดของวัคซีนที่ใช้ ทั้งนี้โดยความเหมาะสมกับสถานการณ์ทางระบาดวิทยาของโรค และกำลังทรัพยากรด้านสาธารณสุขของประเทศและต้องดำเนินการในทุกพื้นที่ โดยประสานสอดคล้องกับแผนงานหรือโครงการด้านสาธารณสุขอื่นๆ เช่น งานอนามัยโรงเรียน งานป้องกันและควบคุมโรคติดต่ออื่นๆ ทั้งนี้ เพื่อให้ทุกงานที่เกี่ยวข้องมีประสิทธิภาพสูงที่สุด และเกิดประโยชน์สูงสุดแก่ประชาชน จากการสำรวจข้อมูลและผลการดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคของศูนย์สุขภาพชุมชนตำบลตะโละแมะนา ในปีงบประมาณ ๒๕๖๒ พบว่า ผลงาน ความครอบคลุมของเด็กอายุครบ 1 ปีที่ได้รับวัคซีน BCG ,HBV1,DTP-HBV3,โปลิโอ3, MMR1,IPV ตามลำดับ ร้อยละ 98.28, 98.28, 68.97, 68.97, 82.76 และ 70.69 ความครอบคลุมของเด็กอายุครบ 2 ปีที่ได้รับวัคซีน DTP4,โปลิโอ4,JE ตามลำดับ ร้อยละ 69.09 , 69.09 และ 74.55 ความครอบคลุมของเด็กอายุครบ 3 ปีที่ได้รับวัคซีน JE,MMR2 ตามลำดับ ร้อยละ 36.21 และ 70.69 ความครอบคลุมของเด็กอายุครบ 5 ปีที่ได้รับวัคซีน DTP5,โปลิโอ5 ตามลำดับ 38.98 และ 37.29 จะเห็นว่าต่ำกว่าเกณฑ์ที่กระทรวงกำหนดไว้มาก คือร้อยละ ๙๐ เพื่อให้การดำเนินงานบรรลุเป้าหมายตามแผนจะต้องเร่งรีบให้วัคซีนตามที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนดไว้ เพื่อเพิ่มภูมิคุ้มกันโรคให้กับเด็ก เพื่อความปลอดภัยจากโรคที่กำลังระบาดในพื้นที่ โดยเฉพาะโรคคอตีบ และโรคหัด
ดังนั้น ศูนย์สุขภาพชุมชนตำบลตะโละแมะนา ได้ตระหนักและเล็งเห็นถึงความสำคัญและความจำเป็นในการให้เด็กได้วัคซีนครบตามเกณฑ์ของกระทรวงสาธารณสุข โดยเน้นความสำคัญของพ่อแม่ ผู้ปกครองและ อสม ให้มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องของความสำคัญของวัคซีนเพื่อที่ป้องกันความรุนแรงที่อาจเกิดจากโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนอย่างมีประสิทธิภาพทันท่วงที
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.1 เพื่อให้เด็ก 0-5 ปี ในเขตรับผิดชอบได้รับวัคซีนขั้นพื้นฐานครบตามเกณฑ์ที่กำหนด 1.2 เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขมีส่วนร่วมในการค้นหาและติดตามเด็กที่ไม่มารับวัคซีนตามนัด
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1. อบรมเชิงปฏิบัติการ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 343 | |
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ไม่เกิดโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนพื้นฐาน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. 1. อบรมเชิงปฏิบัติการ |
||
วันที่ 21 ธันวาคม 2563กิจกรรมที่ทำอบรมเชิงปฏิบัติการ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นไม่เกิดโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนพื้นฐาน
|
50 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1.1 เพื่อให้เด็ก 0-5 ปี ในเขตรับผิดชอบได้รับวัคซีนขั้นพื้นฐานครบตามเกณฑ์ที่กำหนด 1.2 เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขมีส่วนร่วมในการค้นหาและติดตามเด็กที่ไม่มารับวัคซีนตามนัด ตัวชี้วัด : - ความครอบคลุมของเด็กอายุครบ 1 ปีที่ได้รับวัคซีน BCG ,HBV1 ร้อยละ 100 - ความครอบคลุมของเด็กอายุครบ 1 ปีที่ได้รับวัคซีน DTP-HBV3,โปลิโอ3 ร้อยละ 90 - ความครอบคลุมของเด็กอายุครบ 1 ปีที่ได้รับวัคซีน MMR1 ร้อยละ 95 - ความครอบคลุมของเด็กอายุครบ 1 ปีที่ได้รับวัคซีน IPV ร้อยละ 90 - ความครอบคลุมของเด็กอายุครบ 2 ปีที่ได้รับวัคซีน DTP4 ร้อยะละ 90 - ความครอบคลุมของเด็กอายุครบ 2 ปีที่ได้รับวัคซีน โปลิโอ4 ร้อยละ 90 - ความครอบคลุมของเด็กอายุครบ 2 ปีที่ได้รับวัคซีน JE ร้อยละ 90 - ความครอบคลุมของเด็กอายุครบ 3 ปีที่ได้รับวัคซีน JE ร้อยละ 90 - ความครอบคลุมของเด็กอายุครบ 3 ปีที่ได้รับวัคซีน MMR2 ร้อยละ 95 - ความครอบคลุมของเด็กอายุครบ 5 ปีที่ได้รับวัคซีน DTP5 ร้อยละ 90 - ความครอบคลุมของเด็กอายุครบ 5 ปีที่ได้รับวัคซีน โปลิโอ5 ร้อยละ 90 |
90.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 343 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 343 | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.1 เพื่อให้เด็ก 0-5 ปี ในเขตรับผิดชอบได้รับวัคซีนขั้นพื้นฐานครบตามเกณฑ์ที่กำหนด 1.2 เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขมีส่วนร่วมในการค้นหาและติดตามเด็กที่ไม่มารับวัคซีนตามนัด
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. อบรมเชิงปฏิบัติการ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการเด็กน้อยสุขภาพดีด้วยวัคซีนครบบตามเกณฑ์ จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 63-2986-06
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางภัทรพร รัตนซ้อน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......