กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหากรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติฉุกเฉินในพื้นที่ ”
ตำบลนาโต๊ะหมิง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง



หัวหน้าโครงการ
ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลนาโต๊ะหมิง อำเภอเมืองตรัง




ชื่อโครงการ โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหากรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติฉุกเฉินในพื้นที่

ที่อยู่ ตำบลนาโต๊ะหมิง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 63-L1492-05-01 เลขที่ข้อตกลง 009/2563

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 24 มีนาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหากรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติฉุกเฉินในพื้นที่ จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาโต๊ะหมิง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.นาโต๊ะหมิง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหากรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติฉุกเฉินในพื้นที่



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหากรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติฉุกเฉินในพื้นที่ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาโต๊ะหมิง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 63-L1492-05-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 24 มีนาคม 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 50,000.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.นาโต๊ะหมิง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือโรคโควิด 19 (coronavirus Disease 2019 ( COVID-19) )  ได้แพร่อย่างรวดเร็วและกว้างขวางไปหลายประเทศทั่วโลกซึ่งมีผู้ติดเชื้อและเสียชีวิตเป็นจำนวนมาก ประกอบกับเมื่อวันที่ 30 มกราคม 2563 องค์การอนามัยโลกได้ประกาศให้การระบาดของโรคดังกล่าวเป็นภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขระหว่างประเทศ (Public health emergency of international concern (PHEIC) ) มีรายงานผู้ป่วยยืนยันทั่วโลก รวม 100 ประเทศ 2 เขตบริหารพิเศษ 1 นครรัฐ เรือ Diamond Princess และเรือ Grand Princess จำนวน 106,482 ราย มีอาการรุนแรง 6,040 ราย เสียชีวิต 3,600 ราย สถานการณ์ภายในประเทศไทย พบผู้ป่วยที่มีอาการตามนิยามเฝ้าระวังโรครวม 4,518 ราย โดยมีผู้ป่วยยืนยันสะสม 50 ราย หายป่วยและแพทย์อนุญาตให้ออกจากโรงพยาบาลแล้ว 33 ราย อยู่ระหว่างการรักษา 16 ราย โดยมี 1 รายอาการรุนแรง และมีผู้ป่วยเสียชีวิต 1 ราย (ข้อมูลวันที่ 8 มีนาคม 2563 ศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน กรมควบคุมโรค) จากสถานการณ์มีความรุนแรงเพิ่มขึ้น กระทรวงสาธารณสุขประกาศให้โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 เป็นโรคติดต่ออันตรายตามพระราชบัญญัติโรคติดต่อ    พ.ศ. 2558 โรคเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 เป็นโรคติดต่อทางเดินหายใจที่สามารถแพร่จากคนสู่คนได้ โดยละอองฝอยของเชื้อผ่านทางการไอ จาม (Droplets transmission) หรือสัมผัสสิ่งของที่ปนเปื้อนผ่านสารคัดหลังแล้วมาสัมผัสบริเวณจมูก ปาก ตา (Contracts transmission ) และมีรายงานพบเชื้อในอุจจาระจึงมีโอกาสแพร่เชื้อได้ หากได้รับเชื้อผู้ป่วยจะเริ่มแสดงอาการออกมาภายใน 2 วัน ถึง 2 สัปดาห์ โดยอาการเริ่มแรกของผู้ป่วยที่ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 นั้น ส่วนใหญ่จะเริ่มจากการมีไข้สูง > 37.5 องศา ไอ เจ็บคอ หอบเหนื่อย ในรายที่มีอาการรุนแรงจะมีอาการระบบทางเดินหายใจล้มเหลวและอาจถึงขึ้นเสียชีวิตได้ โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 เป็นโรคที่สามารถป้องกันได้ โดยใช้หลักการป้องกันโรคติดต่อทางเดินหายใจ ได้แก่ การล้างมือ สวมหน้ากากอนามัย หลีกเลี่ยงการสัมผัสบริเวณเยื่อบุบริเวณใบหน้า (ตา จมูก ปาก) และหลีกเลี่ยงการเดินทางไปในพื้นที่เสี่ยง ดังนั้น เพื่อเป็นการป้องกันและลดการแพร่กระจายเชื้อ มาตรการการป้องกันการติดต่อจึงเป็นสิ่งจำเป็นอย่างยิ่ง ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลนาโต๊ะหมิง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนาโต๊ะหมิง และกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลนาโต๊ะหมิง อำเภอเมืองตรัง  จังหวัดตรัง ได้เห็นความสำคัญในการเฝ้าระวังควบคุมและป้องกันโรคเชื้อติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 จึงได้จัดทำโครงการรณรงค์ป้องกันโรค COVID-19 ตำบลนาโต๊ะหมิง ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. ประชาชนมีความรู้เรื่องโรค และการป้องกันตนเองจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
  2. 2. ประชาชนสามารถล้างมือและสวมหน้ากากอนามัยอย่างถูกวิธี

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหากรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติฉุกเฉินในพื้นที่

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ประชาชนมีความรู้ในการควบคุมป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 สามารล้างมือและสวมหน้ากากอนามัยได้อย่างถูกต้อง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. ประชาชนมีความรู้เรื่องโรค และการป้องกันตนเองจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
ตัวชี้วัด : จากการซักถาม การอบรม
1.00

 

2 2. ประชาชนสามารถล้างมือและสวมหน้ากากอนามัยอย่างถูกวิธี
ตัวชี้วัด : -จากการสังเกต การอบรม
1.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. ประชาชนมีความรู้เรื่องโรค และการป้องกันตนเองจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (2) 2. ประชาชนสามารถล้างมือและสวมหน้ากากอนามัยอย่างถูกวิธี

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหากรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติฉุกเฉินในพื้นที่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหากรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติฉุกเฉินในพื้นที่ จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 63-L1492-05-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลนาโต๊ะหมิง อำเภอเมืองตรัง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด