โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพลดโรคเรื้อรังเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต
ชื่อโครงการ | โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพลดโรคเรื้อรังเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต |
รหัสโครงการ | 63-L5226-1-01 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต. |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | คลินิคเวชปฏิบัติครอบครัวโรงพยาบาลระโนด |
วันที่อนุมัติ | 27 กุมภาพันธ์ 2563 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 2 มีนาคม 2563 - 30 กันยายน 2563 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 30 กันยายน 2563 |
งบประมาณ | 27,050.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางกรรจนา เนียมละออง |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลระโนด อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา |
ละติจูด-ลองจิจูด | 7.754,100.325place |
งวด | วันที่งวดโครงการ | วันที่งวดรายงาน | งบประมาณ (บาท) | |||
---|---|---|---|---|---|---|
จากวันที่ | ถึงวันที่ | จากวันที่ | ถึงวันที่ | |||
1 | 1 เม.ย. 2563 | 30 ก.ย. 2563 | 27,050.00 | |||
รวมงบประมาณ | 27,050.00 |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 40 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน : |
||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 50 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้สูงอายุ : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | 10 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ : |
||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 50 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง : |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
สถานการณ์ปัจจุบันกลุ่มโรคไม่ติดต่อเป็นปัญหาสุขภาพอันดับหนึ่งของโลก และอันดับหนึ่งในประเทศไทยทั้งในมิติของจำนวนการเสียชีวิตและภาระโรคโดยรวม กลุ่มโรคไม่ติดต่อหลักสำคัญ ได้แก่ โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคเบาหวาน โรคมะเร็ง และโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง ประชากรที่เป็นกลุ่มเสี่ยงและป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อมีจำนวนเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วและมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้การเปลี่ยนแปลงปัจจัยทางสังคม เช่น การขยายตัวของสังคมเมือง กลยุทธ์ทางการตลาด ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีและการสื่อสาร ที่ส่งผลต่อวิถีชีวิตและทำให้ป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเพิ่มมากขึ้น ดังที่จะเห็นได้จากในช่วงหลายปีที่ผ่านมา การบริโภคน้ำตาลเพิ่มขึ้นเป็น 26 ช้อนชา (104 กรัม) ต่อคนต่อวัน ซึ่งสูงกว่าคำแนะนำองค์การอนามัยโลกที่ให้บริโภคน้ำตาลสูงสุดไม่เกิน 12 ช้อนชา ต่อวัน ในทำนองเดียวกันการบริโภคเกลือต่อคนต่อวัน (9 กรัม) ก็สูงเกือบสองเท่าของปริมาณสูงสุดตามคำแนะนำองค์การอนามัยโลก เช่นกัน ทำให้พบปัจจัยเสี่ยงเหล่านี้มากขึ้นในคนไทย กระทรวงสาธารณสุข และสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ได้เห็นความสำคัญและมีมาตรการเชิงรุกในการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคเรื้อรังด้วยการส่งเสริม/รณรงค์ให้ประชาชนไทยทุกคนเข้าถึงและได้รับการตรวจคัดกรองภาวะสุขภาพให้ครอบคลุมมากที่สุดตั้งแต่อายุ 35 ปีขึ้นไป เพื่อค้นหาภาวะเสี่ยง/ค้นหาโรค ในระยะเริ่มต้น ร่วมทั้งมีการให้ความรู้ และส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรคเรื้อรังในกลุ่มเสี่ยงทุกรายเพื่อลดความรุนแรงของโรคในรายที่ป่วยแล้ว ด้งนั้น ได้ให้ความสำคัญและเล็งเห็นปัญหาสุขภาพดังกล่าวในระยะยาว จึงได้จัดทำโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพลดโรคเรื้อรังเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตอย่างต่อเนื่อง เพื่อค้นหากลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรัง และให้กลุ่มเสี่ยงมีความรู้ เข้าใจ มีทักษะนำไปใช้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตนเองและครอบครัวให้ปลอดภัยจากโรคเรื้อรังได้ รวมทั้งสามารถค้นหาผู้ป่วยให้ได้รับการรักษาที่ถูกต้อง ลดการเกิดภาวะแทรกซ้อน และลดปัญหาค่าใช้จ่ายที่ต้องเป็นภาาะตามมาต่อไป
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | ข้อที่ 1 เพื่อให้ประชากรกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจประเมินโอกาสเสี่ยงต่อดรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง/หลอดเลือดสมอง
|
0.00 | |
2 | ข้อที่ 2 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงมีความรู้/ทักษะในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
|
0.00 | |
3 | ข้อที่ 3 ลดอัตราการเกิดโรคเบาหวาน-ความดันโลหิตสูงรายใหม่
|
0.00 |
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
คงเหลือ (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรม | 150 | 27,050.00 | 0 | 0.00 | 27,050.00 | |
6 - 30 เม.ย. 63 | กิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม | 150 | 27,050.00 | - | - | ||
7 เม.ย. 63 | ประชุมชี้แจงวัตถุประสงค์คณะทำงาน/แบ่งหน้าที่รับผิดชอบ/เขียนโครงการขออนุมัติ/ประชาสัมพันธ์โครงการสำรวจกลุ่มเป้าหมาย | 0 | 0.00 | - | - | ||
รวมทั้งสิ้น | 150 | 27,050.00 | 0 | 0.00 | 27,050.00 |
ขั้นที่ 1 ขั้นเตรียมการ ขั้นที่ 2 ขั้นดำเนินงานตามโครงการฯ ขั้นที่ 3 สรุปวิเคราะห์และประเมินผล
- ประชาชนกลุ่มเป้าหมายเข้ารับการตรวจคัดกรองมากขึ้น
- กลุ่มเสี่ยงมีความรู้/พฤติกรรมเหมาะสม - ลดการเกิดผู้ป่วยรายใหม่
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 24 มี.ค. 2563 09:46 น.