กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

assignment
บันทึกกิจกรรม
กิจกรรมเสริมสร้างแรงจูงใจ1 กุมภาพันธ์ 2564
1
กุมภาพันธ์ 2564รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนตำบลคอลอตันหยง
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  1. คัดเลือกบุคคลต้นแบบที่สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพพร้อมมอบรางวัลและเกียรติบัตร กิจกรรมที่ 3  กิจกรรมเสริมสร้างแรงจูงใจ

- ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 80 คนๆ ละ50 บาท X 1 มื้อ รวมเป็นเงิน 4,000 บาท - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 80 คนๆล 25 บาทจำนวน 2 มื้อ รวมเป็นเงิน 4,000 บาท - ค่ารางวัลบุคคลต้นแบบที่สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพรายละเอียดดังนี้
รางวัลที่  1  จำนวนเงิน  1,000 บาท รางวัลที่  2  จำนวนเงิน  800  บาท รางวัลที่  3  จำนวนเงิน  700  บาท                 รวมเป็นเงิน 10,500  บาท

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. ผู้เข้าร่วมมีความรู้ในการดูแลสุขภาพตนเองเพิ่มขึ้น ร้อยละ 70
  2. ผู้เข้าร่วมมีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพถูกต้อง ร้อย70 จากการติดตามหลังการ อบรม 4  เดือน
  3. ระดับความดันโลหิตของผู้ที่เข้ารับการอบรมที่มีภาวะเสี่ยงลดลงปกติอยู่ในเกณฑ์ปกติ ร้อยละ 50 จากการติดตามหลังการอบรม 4  เดือน
  4. ระดับน้ำตาลในเลือดของผู้ที่เข้ารับการประชุมชี้แจงที่มีภาวะเสี่ยง ลดลงปกติอยู่ในเกณฑ์ปกติ ร้อยละ 40 จากการติดตามหลังการประชุมชี้แจง  4 เดือน
ประชุมชี้แจงเชิงปฏิบัติการดูแลสุขภาพตนเองของกลุ่มเสี่ยง1 กุมภาพันธ์ 2564
1
กุมภาพันธ์ 2564รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนตำบลคอลอตันหยง
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  1. ประเมินกลุ่มเป้าหมายก่อนการประชุมชี้แจง           1.1 ทำแบบทดสอบความรู้ก่อนการประชุมชี้แจง           1.2 ประเมินภาวะสุขภาพก่อนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เช่น ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง รอบเอว วัดความดันโลหิต และตรวจหาระดับน้ำตาลในเลือด
  2. จัดประชุมชี้แจงเชิงปฏิบัติการแก่กลุ่มเสี่ยง           2.1 ให้ความรู้เกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน และการปฏิบัติตัว           2.2 ให้ความรู้เกี่ยวกับการประเมินสุขภาพเบื้องต้นพร้อมฝึกปฏิบัติการใช้แบบประเมินสุขภาพและแปลผลภาวะ สุขภาพของตนเอง           2.3 ให้ความรู้เรื่องการใช้แบบประเมินความเครียดด้วยตนเองและการแปรผล พร้อมทั้งฝึกใช้แบบประเมินความเครียด           2.4 ให้ความรู้เรื่องสุขภาพจิตและการจัดการความเครียด           2.5 สาธิตและฝึกปฏิบัติการฝึกจิตและการคลายเครียด
              2.6 ให้ความรู้และสาธิตวิธีการออกกำลังกายที่เหมาะสมสำหรับกลุ่มเสี่ยงแต่ละกลุ่มอายุ           2.7 ให้ความรู้ สาธิตและฝึกปฏิบัติการจัดเมนูอาหารตัวอย่าง
              2.8 จัดกิจกรรมกลุ่มแลกเปลี่ยนเรียนรู้  เพื่อหาแนวทางในการเสริมแรงจูงใจให้เกิดการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม           2.9 ทำแบบทดสอบความรู้หลังการประชุมชี้แจง กิจกรรมที่ 1  ประชุมชี้แจงเชิงปฏิบัติการดูแลสุขภาพตนเองของกลุ่มเสี่ยง

- ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 80 คนๆ ละ50 บาท X 1 มื้อ รวมเป็นเงิน 4,000 บาท - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 80 คนๆล 25 บาทจำนวน 2 มื้อ รวมเป็นเงิน 4,000 บาท                 รวมเป็นเงิน 8,000 บาท

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. ผู้เข้าร่วมมีความรู้ในการดูแลสุขภาพตนเองเพิ่มขึ้น ร้อยละ 70
  2. ผู้เข้าร่วมมีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพถูกต้อง ร้อย70 จากการติดตามหลังการ อบรม 4เดือน
  3. ระดับความดันโลหิตของผู้ที่เข้ารับการอบรมที่มีภาวะเสี่ยงลดลงปกติอยู่ในเกณฑ์ปกติ ร้อยละ 50 จากการติดตามหลังการอบรม 4เดือน
  4. ระดับน้ำตาลในเลือดของผู้ที่เข้ารับการประชุมชี้แจงที่มีภาวะเสี่ยง ลดลงปกติอยู่ในเกณฑ์ปกติ ร้อยละ 40 จากการติดตามหลังการประชุมชี้แจง4 เดือน
ติดตามการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มเสี่ยงจำนวน 2 ครั้ง8 กันยายน 2563
8
กันยายน 2563รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนตำบลคอลอตันหยง
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  1. เจ้าหน้าที่สาธารณสุขติดตามประเมินภาวะสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยง           3.1 ชั่งน้ำหนัก  วัดรอบเอว วัดความดันโลหิต และประเมินพฤติกรรมการบริโภค เมื่อครบ
    กำหนด 2  และ 4 เดือน
              3.2 ทำแบบสัมภาษณ์ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและ โรคความดันโลหิตสูง เพื่อทดสอบความรู้และประเมินพฤติกรรมสุขภาพหลังเข้าร่วมโครงการ ครบ  4  เดือน กิจกรรมที่ 2  ติดตามการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มเสี่ยงจำนวน 2 ครั้ง

- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม  จำนวน 80 คน ๆ ละ 25 บาท จำนวน 2  มื้อ รวมเป็นเงิน 4,000 บาท

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. ผู้เข้าร่วมมีความรู้ในการดูแลสุขภาพตนเองเพิ่มขึ้น ร้อยละ 70
  2. ผู้เข้าร่วมมีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพถูกต้อง ร้อย70 จากการติดตามหลังการ อบรม 4  เดือน
  3. ระดับความดันโลหิตของผู้ที่เข้ารับการอบรมที่มีภาวะเสี่ยงลดลงปกติอยู่ในเกณฑ์ปกติ ร้อยละ 50 จากการติดตามหลังการอบรม 4  เดือน
  4. ระดับน้ำตาลในเลือดของผู้ที่เข้ารับการประชุมชี้แจงที่มีภาวะเสี่ยง ลดลงปกติอยู่ในเกณฑ์ปกติ ร้อยละ 40 จากการติดตามหลังการประชุมชี้แจง  4 เดือน