กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการฝึกอบรมการทำหน้ากากอนามัย(mask) เจลล้างมือ และทำความสะอาด Big Cleaning Day ป้องกันโรค COVID-19 นักเรียนโรงเรียนวัดขุนสิทธิ์ ”
ตำบลบ้านโพธิ์ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง



หัวหน้าโครงการ
นายพรชัย คำนวณศิลป์




ชื่อโครงการ โครงการฝึกอบรมการทำหน้ากากอนามัย(mask) เจลล้างมือ และทำความสะอาด Big Cleaning Day ป้องกันโรค COVID-19 นักเรียนโรงเรียนวัดขุนสิทธิ์

ที่อยู่ ตำบลบ้านโพธิ์ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 63-L1501-5-003 เลขที่ข้อตกลง 20/2563

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 14 พฤษภาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการฝึกอบรมการทำหน้ากากอนามัย(mask) เจลล้างมือ และทำความสะอาด Big Cleaning Day ป้องกันโรค COVID-19 นักเรียนโรงเรียนวัดขุนสิทธิ์ จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านโพธิ์ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านโพธิ์ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการฝึกอบรมการทำหน้ากากอนามัย(mask) เจลล้างมือ และทำความสะอาด Big Cleaning Day ป้องกันโรค COVID-19 นักเรียนโรงเรียนวัดขุนสิทธิ์



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการฝึกอบรมการทำหน้ากากอนามัย(mask) เจลล้างมือ และทำความสะอาด Big Cleaning Day ป้องกันโรค COVID-19 นักเรียนโรงเรียนวัดขุนสิทธิ์ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านโพธิ์ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 63-L1501-5-003 ระยะเวลาการดำเนินงาน 14 พฤษภาคม 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 68,438.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านโพธิ์ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ด้วยทางองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ. 2557 ได้กำหนดหลักเกณฑ์การใช้จ่ายเงินกองทุนเพื่อสนับสนุนหรือส่งเสริมค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ไว้ 5 ประเภท ซึ่งได้ระบุให้ประเภทที่ 5 ใช้ในกรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติในพื้นที่  ซึ่งสอดคล้องกับสถานการณ์ขณะนี้ ได้มีการระบาดของโรคโควิต – ไนน์ทีน (COVID - 19)สายพันธุใหม่ ซึ่งกำลังอยู่ในความสนใจของคนทั่วโลกขณะนี้ ซึ่งองค์การอนามัยโลกประกาศให้การแพร่ระบาดของไวรัสโควิต – ไนน์ทีน (COVID - 19) สายพันธุ์ใหม่เป็น “ภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุขระหว่างประเทศ” ทำให้เกิดความกังวลว่าการระบาดของไวรัสชนิดนี้จะแพร่ระบาดถ้าสาธารณสุขอ่อนแอ กระทรวงสาธารณสุขของไทยยกระดับมาตรการป้องกันการระบาดของไวรัสชนิดนี้ และอาจพิจารณาประกาศให้โรคปอดติดเชื้อจากไวรัสโควิต – ไนน์ทีน (COVID - 19)สายพันธุ์ใหม่เป็น “โรคติดต่ออันตราย” ตาม พ.ร.บ. โรคติดต่อซึ่งจะนับเป็นโรคติดต่ออันตรายชนิดที่ 14  การใช้หน้ากากอนามัยเพื่อป้องกันการติดเชื้อ ได้รับความนิยมในหลายประเทศ ถึงแม้ไม่ใช้เป็นการป้องกันได้ดี แต่หน้ากากอนามัยและเจลล้างมือ อาจช่วยลดความเสี่ยงการติดเชื้อไวรัสจากการไอหรือจาม และติดเชื้อจากมือสู่ปากได้ในระดับหนึ่ง แต่การป้องกันโรค ควบคุม การแพร่ และการระงับการระบาดต้องเร่งดำเนินการ ไม่ให้เกิดการระบาดของโรคเพราะจะส่งผลให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพและชีวิตของประชาชน  ในการนี้ เพื่อเป็นการป้องกันการระบาดของโรคไวรัสโควิต – ไนน์ทีน (COVID - 19)สายพันธ์ใหม่ 2019 ทางโรงเรียนวัดขุนสิทธิ์ จึงขอจัดทำโครงการรณรงค์ป้องกันควบคุมโรคระบาดไวรัสโควิต – ไนน์ทีน (COVID - 19) โดยขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลตำบลบ้านโพธิ์         โรงเรียนวัดขุนสิทธิ์ได้จัดทำโครงการ “โครงการฝึกอบรมการทำหน้ากากอนามัย (mask) เจลล้างมือ และทำความสะอาด Big Cleaning Day ป้องกันโรค COVID-19 นักเรียนโรงเรียนวัดขุนสิทธิ์ ประจำปีกาศึกษา 2562 (งบประมาณ 2563)” สร้างความปลอดภัยให้กับนักเรียน”และทำความสะอาด Big Cleaning Day โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเตรียมความพร้อมให้นักเรียนมีทักษะด้านการตัดเย็บหน้ากากอนามัยและการทำเจลล้างมือ และทำความสะอาดอาคารเรียน ซึ่งโรงเรียนวัดขุนสิทธิ์มีจำนวนนักเรียนตั้งแต่ระดับชั้นอนุบาล 1 – ระดับชั้นมัธยมปีที่ 3 จำนวนนักเรียน 253 คน มีอาคารเรียนและอาคารต่าง ๆ ดังนี้
      1. อาคารเรียน 3 (4 ห้องเรียน)
      2. อาคารเรียน 4 (4 ห้องเรียน)
      3. อาคารเรียน 5 (9 ห้องเรียน)
      4. อาคารเรียนสปช. 105/29 (5 ห้องเรียน 2 ชั้น ใต้ถุนโล่ง)
      5. อาคารเอนกประสงค์ 1 หลัง
        6. อาคารการงานอาชีพ 1 หลัง
        7. อาคารห้องประชุม 1 หลัง
      8. โรงอาหารอายิโนะโมะโต๊ะ 1 หลัง
      9. ห้องน้ำ ห้องส้วม อาคารเรียน 1 (4 ห้อง)
      10. ห้องน้ำ ห้องส้วม อาคารเรียน 4 (4 ห้อง)
      11. ห้องน้ำ ห้องส้วม อาคารเรียน 5 (4 ห้อง)
          เพื่อรองรับสถานการณ์โรคติดต่อ และแก้ไขปัญหาหน้ากากอนามัยขาดตลาดและมีราคาสูง และเพื่อรณรงค์ให้นักเรียนสวมใส่หน้ากากอนามัย เจลล้างมือ และทำความสะอาด Big Cleaning Day เพื่อปัองกันโรคโควิต – ไนน์ทีน (COVID - 19)

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ฝึกอบรมการทำหน้ากากอนามัย(mask) เจลล้างมือ และทำความสะอาด Big Cleaning Day ป้องกันโรค COVID-19

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 253
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. นักเรียนเกิดความรู้วิธีป้องกันการระบาดของโรคด้วยตัวเอง
  2. นักเรียน เกิดความรู้ป้องกันการแพร่เชื้อ การระบาดของโรคในพื้นที่
  3. นักเรียนสามารถทำหน้ากากอนามัยและเจลล้างมือไว้ใช้เองได้
  4. โรงเรียนวัดขุนสิทธิ์ปลอดเชื้อระบาดไวรัสโควิต – ไนน์ทีน (COVID - 19)

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 253
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 253
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ฝึกอบรมการทำหน้ากากอนามัย(mask) เจลล้างมือ และทำความสะอาด Big Cleaning Day  ป้องกันโรค COVID-19

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการฝึกอบรมการทำหน้ากากอนามัย(mask) เจลล้างมือ และทำความสะอาด Big Cleaning Day ป้องกันโรค COVID-19 นักเรียนโรงเรียนวัดขุนสิทธิ์ จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 63-L1501-5-003

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายพรชัย คำนวณศิลป์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด