กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ไพรวัน


“ โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19) รพ.สต.บ้านกูบู ”

ตำบลไพรวัน อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางน้ำฝน พรหมน้อย

ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19) รพ.สต.บ้านกูบู

ที่อยู่ ตำบลไพรวัน อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 63-L2486-5-01 เลขที่ข้อตกลง 1/2563

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2563 ถึง 30 เมษายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19) รพ.สต.บ้านกูบู จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลไพรวัน อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ไพรวัน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19) รพ.สต.บ้านกูบู



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนมีความรู้เรื่องโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19) (2) เพื่อให้ประชาชนสามารถป้องกันตัวจากโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19)

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ให้ความรู้เรื่องโรค Covid – 19 และวิธีป้องกันโรคด้วยตนเอง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่
        ปัญหา/อุปสรรค (ระบุ) ประชาชนบางกลุ่มยังไม่เห็นความสำคัญของการสวม Mask ในชุมชน หรือในสถานที่ให้บริการต่างๆ และยังไม่เว้นระยะห่าง ยังรวมกลุ่มเป็นกลุ่ม แนวทางการแก้ไข (ระบุ)
  ประชาสัมพันธ์อาการของโรคและการแพร่ระบาดของโรค รวมถึงการป้องกันตัวเองจากโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19)

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ หรือที่เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า "โรคอู่ฮั่น" ที่กำลังระบาดอยู่ในขณะนี้ มีความรุนแรงเทียบเท่ากับโรคซาร์สมากที่สุด ทำให้ผู้ป่วยมีอาการปอดอักเสบรุนแรงจนถึงแก่ชีวิตได้ องค์การอนามัยโลก ยังไม่สามารถหาที่มาของเชื้ออย่างชัดเจนได้ แต่สันนิษฐานว่าอาจจะมาจากเนื้อสัตว์ป่าที่ซื้อขายอยู่ และปัจจุบันเชื้อไวรัสนี้สามารถแพร่กระจายจากคนสู่คน จากการไอ จาม หรือสัมผัสกับสารคัดหลั่งของคนที่ป่วย ดังนั้น เราควรดูแลตนเองเพื่อให้ร่างกายห่างไกลจากเชื้อไวรัสโคโรนา จากสถานการณ์โรคผู้ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19)  ข้อมูล ณ วันที่ 2 มีนาคม 2563 5 อันลำแรก ได้แก่ 1.สาธารณรัฐประชาชนจีน (80,026 ราย) 2.เกาหลีใต้ (4,335 ราย) 3.อิตาลี (1,694 ราย) 4.อิหร่าน (978 ราย) และ 5.ญี่ปุ่น (256 ราย) สถานการณ์ ในประเทศไทย พบผู้ป่วยยืนยันสะสม 43 ราย ผู้ป่วยยืนยันกลับบ้าน 31 ราย รักษาอยู่ใน รพ. 11 ราย เสียชีวิต 1 ราย ข้อมูล ณ วันที่ 4 มีนาคม 2563     ทั้งนี้ การเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19) จำเป็นต้องมีการดำเนินการให้ความรู้ คำแนะนำ การดูแลเฝ้าระวังป้องกันตนเองให้กับประชาชนในเขตพื้นที่ ได้แก่ หน่วยบริการ สถานบริการหน่วยงานสาธารณสุข สถานประกอบการ สถานศึกษา ศูนย์เด็กเล็ก หน่วยราชการ ชุมชน และบริการสาธารณะต่างๆ ในพื้นที่ความรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านกูบู

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้เรื่องโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19)
  2. เพื่อให้ประชาชนสามารถป้องกันตัวจากโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19)

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ให้ความรู้เรื่องโรค Covid – 19 และวิธีป้องกันโรคด้วยตนเอง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 150
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชนมีความรู้ในการดูแลตนเอง สามารถป้องกันตนเองจากโรคติดต่อได้ 2.ประชาชนสามารถป้องกันโรคติดต่อได้


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ให้ความรู้เรื่องโรค Covid – 19 และวิธีป้องกันโรคด้วยตนเอง

วันที่ 9 พฤศจิกายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

  1. การจัดหาวัสดุอุปกรณ์ในการป้องกันโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-1๙)
  2. ดำเนินการ ประชาสัมพันธ์  ให้ความรู้เรื่องโรค Covid – 19  และวิธีป้องกันโรคด้วยตนเอง
  3. ให้ประชาชนเผ้าระวังโรคในพื้นที่กรณีเพื่อนบ้านไปประเทศที่มีภาวะเสี่ยงให้แจ้ง จนท.เพื่อติดตามการเฝ้าระวังโรคในช่วง 14 วันหลังจากเดินทางกลับจากต่างประเทศ 4.ติดตามสถานการณ์ เฝ้าระวังสถานการณ์ และแจ้งให้ประชาชนทราบเป็นระยะ 5.สรุปผลการดำเนินงาน และ รายงานให้คณะกรรมการกองทุนฯ ทราบเมื่อสิ้นสุดโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชาชนมีความรู้และวิธีการป้องกันตัวจากโรคไวรัสโคโรนา 19  และไม่มีการระบาดของโรค

 

150 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

ประชาชนมีความรู้และวิธีการป้องกันตัวจากโรคไวรัสโคโรนา 19 และไม่มีการระบาดของโรค

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ประชาชนมีความรู้เรื่องโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19)
ตัวชี้วัด : 1.ประชาชนสามารถเข้าร่วมกิจกรรม ร้อยละ 100
0.00 100.00

 

2 เพื่อให้ประชาชนสามารถป้องกันตัวจากโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19)
ตัวชี้วัด : 2.ประชาชนมีความรู้เรื่องโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19) และสามารถป้องกันตัวจากโรคติดต่อได้ถูกต้อง ร้อยละ 80
0.00 94.66

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 150 150
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 150 150
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนมีความรู้เรื่องโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19) (2) เพื่อให้ประชาชนสามารถป้องกันตัวจากโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19)

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ให้ความรู้เรื่องโรค Covid – 19 และวิธีป้องกันโรคด้วยตนเอง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่
        ปัญหา/อุปสรรค (ระบุ) ประชาชนบางกลุ่มยังไม่เห็นความสำคัญของการสวม Mask ในชุมชน หรือในสถานที่ให้บริการต่างๆ และยังไม่เว้นระยะห่าง ยังรวมกลุ่มเป็นกลุ่ม แนวทางการแก้ไข (ระบุ)
  ประชาสัมพันธ์อาการของโรคและการแพร่ระบาดของโรค รวมถึงการป้องกันตัวเองจากโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19)

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19) รพ.สต.บ้านกูบู จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 63-L2486-5-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางน้ำฝน พรหมน้อย )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด