กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคอกช้าง


“ โครงการชาวคอกช้างร่วมใจป้องกันโรคไวรัสโคโรนา (covid-19) ”

อำเภอธารโต จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางนิภารัตน์ แสงทอง

ชื่อโครงการ โครงการชาวคอกช้างร่วมใจป้องกันโรคไวรัสโคโรนา (covid-19)

ที่อยู่ อำเภอธารโต จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 63-L8277-2-01 เลขที่ข้อตกลง 02/2563

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการชาวคอกช้างร่วมใจป้องกันโรคไวรัสโคโรนา (covid-19) จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอธารโต จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคอกช้าง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการชาวคอกช้างร่วมใจป้องกันโรคไวรัสโคโรนา (covid-19)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการชาวคอกช้างร่วมใจป้องกันโรคไวรัสโคโรนา (covid-19) " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอธารโต จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 63-L8277-2-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 88,934.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคอกช้าง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลังจากที่โลกต้องเผชิญกับเชื้อร้ายแรงเช่น เชื้อไข้หวัดนกสายพันธุ์ H5N1 เชื้ออุบัติใหม่หลายชนิด ได้เกิดขึ้นตามมาอีกมากมาย โดยเฉพาะ ไวรัสที่ก่อให้เกิดโรคติดเชื้อระบบทางเดินหายใจรุนแรงเฉียบพลัน (Severe Acute Respiratory Infections :SARI) หรือ ปอดบวม ปอดอักเสบรุนแรง และมีอัตราการตายสูง เช่นไข้หวัดนกสายพันธุ์ H7N9 ไข้หวัดนกสายพันธุ์ H10N8 เชื้อโคโรน่าไวรัสสายพันธุ์ใหม่ 2012 (MERS-CoV) เป็นต้น และยังมีเชื้ออุบัติซ้ำอีกหลายชนิดที่ยังคงเป็นปัญหาสำคัญด้านสาธารณสุข ที่จำเป็นต้องเฝ้าระวัง ควบคู่กันไปกับเชื้อไข้หวัดใหญ่/ไข้หวัดนกด้วย เพื่อให้ประเทศไทยมีระบบเฝ้าระวังโรคติดเชื้อระบบทางเดินหายใจ ที่มีศักยภาพ สามารถสนับสนุนข้อมูล อุบัติการณ์ของเชื้อต่างๆ ที่เป็นสาเหตุของโรคปอดบวม ปอดอักเสบรุนแรง ได้สมบูรณ์มากยิ่งขึ้น ซึ่งที่ผ่านมามีผู้ป่วยด้วยโรคเหล่านี้จำนวนมากที่ไม่สามารถค้นหาเชื้อที่เป็นสาเหตุได้ เพราะข้อจำกัดจากงบประมาณสำหรับการตรวจหาเชื้อหลายชนิด หรือแพทย์มีความสนใจต่อเชื้อบางชนิดเท่านั้น ดังนั้นระบบเฝ้าระวังฯที่กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ได้ขยายศักยภาพนี้ จะเป็นแหล่งข้อมูลและองค์ความรู้ที่สำคัญ สำหรับหน่วยงานที่มีหน้าที่รับผิดชอบในการป้องกันและควบคุมโรค ได้นำไปใช้ประโยชน์ ในการการจัดทำแผนหรือนโยบายในการป้องกันและลดการแพร่ระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่ ไข้หวัดนกรวมถึงเชื้ออุบัติใหม่ อุบัติซ้ำ ได้อย่างมีประสิทธิภาพและระบบเฝ้าระวังฯนี้ควรจะได้ดำเนินการอย่างต่อเนื่องเพื่อประโยชน์ที่ยั่งยืนของระบบสาธารณสุขไทย และในปัจจุบันสถานการณ์เกิดการระบาดของโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19) ในประเทศจีน เริ่มจากเมืองอู่ฮั่น และต่อมาระบาดไปอีกหลายเมือง ปัจจุบันพบผู้ป่วยติดเชื้อในประเทศไทยจนถึงวันที่ 23 มีนาคม อยู่ในอันดับที่ 34 มีผู้ติดเชื้อ 721 คน เสียชีวิต 1 คน รักษาหายแล้ว 52 คน และยังพบผู้ป่วยยืนยันในหลายประเทศ และขณะนี้มีหลักฐานการติดต่อจากคนสู่คน พบผู้ป่วยยืนยันในผู้ที่ไม่มีประวัติการเดินทางไปประเทศจีน แต่มีประวัติใกล้ชิดกับผู้ที่เดินทางมาจากพื้นที่ระบาดของโรค สำหรับประเทศไทยพบผู้ป่วยยืนยันโรคดังกล่าวในหลายพื้นที่และมีแนวโน้มที่เพิ่มขึ้นทุกวัน     จากสถานการณ์การเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคไวรัสโคโรนา COVID-19 ในจังหวัดยะลา พบผู้ป่วยติดเชื้อ 17 ราย จำนวนผู้สัมผัส 239 ราย นอนรักษาที่โรงพยาบาล 27 ราย เฝ้าระวัง 54 ราย ไม่มีเสียชีวิต และในเขตอำเภอธารโต พอผู้ติดเชื้อ 1 ราย จำเป็นต้องมีการดำเนินการให้ความรู้ คำแนะนำ การดูแลเฝ้าระวังป้องกันตอนเองให้กับประชาชนในเขตพื้นที่ ได้แก่ หน่วยบริการ สถานบริการหน่วยงานสาธารณสุข สถานประกอบการ สถานศึกษา ศูนย์เด็กเล็ก หน่วยราชการ ชุมชนและบริการสาธารณะต่างๆ เขตในพื้นที่ความรับผิดชอบของเทศบาลตำบลคอกช้าง     อาสาสมัครสาธารณสุขบ้านคอกช้าง จึงได้ร่วมกับองค์กรภาคีเครือข่ายต่างๆ ในพื้นที่ เช่น ควบโรค รพ.สต. ผู้นำชุมชน อสม. ผูนำศาสนา องค์กรต่างๆในพื้นที่ มีบทบาทหน้าที่ต้องทำเพื่อป้องกันและระงับโรคติดต่อ จึงต้องมีการตอบโต้ต่อสถานการณ์โรคไวรัสโคโรนา COVID-19 ให้ทันต่อเหตุการณ์ เพื่อลดผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชนตลอดจนป้องกันไม่ให้เกิดการแพร่ระบาดของโรคในวงกว้าง ต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อเสริมสร้างความเข้าใจแก่ประชาชนเกี่ยวกับโรคและการป้องกันโรค Covid-19
  2. 2.เพื่อเสริมสร้างความเข้าใจการสวมหน้ากาก มีหน้ากากอนามัยไว้ใช้เอง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 1,200
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ประชาชนมีความเข้าใจเรื่องโรค Covid-19
    2. ประชาชนมีพฤติกรรมที่สามารถป้องกัน Covid-19

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1.เพื่อเสริมสร้างความเข้าใจแก่ประชาชนเกี่ยวกับโรคและการป้องกันโรค Covid-19
    ตัวชี้วัด : ประชาชนมีความรู้เรื่องอาการของโรคการป้องกันโรค Covid-19
    0.00

     

    2 2.เพื่อเสริมสร้างความเข้าใจการสวมหน้ากาก มีหน้ากากอนามัยไว้ใช้เอง
    ตัวชี้วัด : ประชาชนที่สามารถมีหน้ากากอนามัยใช้เอง และสามารถสวมหน้ากากถูกต้อง
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 1200
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 1,200
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อเสริมสร้างความเข้าใจแก่ประชาชนเกี่ยวกับโรคและการป้องกันโรค Covid-19 (2) 2.เพื่อเสริมสร้างความเข้าใจการสวมหน้ากาก มีหน้ากากอนามัยไว้ใช้เอง

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการชาวคอกช้างร่วมใจป้องกันโรคไวรัสโคโรนา (covid-19) จังหวัด ยะลา

    รหัสโครงการ 63-L8277-2-01

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางนิภารัตน์ แสงทอง )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด