กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการบริหารและเพิ่มประสิทธิภาพกองทุนสุขภาพตำบลกะดุนง
รหัสโครงการ 63-L3052-04-10
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 4 สนับสนุนการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ สำนักงานเลขาฯกองทุน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ
วันที่อนุมัติ 25 ธันวาคม 2562
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ตุลาคม 2562 - 30 กันยายน 2563
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2563
งบประมาณ 73,670.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ เลขากองทุนสุขภาพ อบต.กะดุนง
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลกะดุนง อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี
ละติจูด-ลองจิจูด 6.646,101.554place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบล
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 0.00
รวมงบประมาณ 0.00

คำเตือน : รวมงบประมาณของทุกงวด (0.00 บาท) ไม่เท่ากับ งบประมาณโครงการ (73,670.00 บาท)

stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในบทบัญญัติของพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.2545 มาตรา 13 (3) มาตรา 18 (4) (8) (9) และมาตรา 47 ได้กำหนดให้คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติสนับสนุน ประสาน และกำหนดหลักเกณฑ์เพื่อให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นผู้ดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพท้องถิ่นเป็นผู้ดำเนินงานและบริหารงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ได้รับความพร้อม ความเหมาะสม และความต้องการเพื่อสร้างหลักประกันสุขภาพให้แก่บุคคลในพื้นที่ กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่นับเป็นนวัตกรรมที่สำคัญในระบบส่งเสริมสุขภาพของประเทศไทยในการส่งเสริมการมีส่วนร่วมดูแลสุขภาพของประชาชนจากหลายภาคส่วนในสังคม โดยมีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นกลไกสำคัญในการบริหารจัดระบบหลักประกันสุขภาพ และประสานหน่วยงานองค์กรและภาคีเครือข่ายในพื้นที่เข้ามาค้นปัญหาและความต้องการของประชาชน ร่วมวางแผน และส่งเสริมให้เกิดการร่วมกิจกรรมด้านสุขภาพ ที่เกี่ยวกับสุขภาพ การป้องกันโรค และการฟื้นฟูสมรรถภาพ ที่จำเป็นต่อสุขภาพและการดำเนินกิจกรรมด้านสุขภาพ ที่เกี่ยวกับการสร้างสุขภาพ การป้องกันโรค และการฟื้นฟูสมรรถภาพ ที่จำเป็นต่อสุขภาพและการดำรงชีวิตในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ โดยได้มีการนำแผนยุทธศาสตร์หรือแผนสุขภาพชุมชนมาเป็นเครื่องมือบริหารการเปลี่ยนแปลง การบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่แบบบูรณาการของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง บทบาทองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกับการสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคและการติดตามผลการดำเนินงานกองทุนสุขภาพฯ

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้การดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลกะดุนงเป็นไปด้วย ความเรียบร้อยและมีประสิทธิภาพ

 

0.00
2 เพื่อจัดซื้อวัสดุ อุปกรณ์ในการบริหารจัดการกองทุน

 

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 139 73,670.00 0 0.00
1 ต.ค. 62 - 30 ก.ย. 63 ค่าเบี้ยประชุมคณะกรรมการและอนุกรรมการกองทุน จำนวน 4 ครั้ง เป็นเงิน 34,800.-บาท และค่าเบี้ยประชุมของคณะอนุกรรมการ LTC และคณะทำงาน จำนวน 2 ครั้ง 6,800.-บาท เป็นเงินทั้งสิ้น 41,600.-บาท 37 41,600.00 -
1 ต.ค. 62 - 30 ก.ย. 62 ค่าอาหารคณะกรรมการ สปสช. และคณะอนุกรรมการ จำนวน 4 ครั้ง และค่าอาหารคณะกรรมการ LTC และคณะทำงาน จำนวน 2 ครั้ง 37 16,470.00 -
1 ต.ค. 62 - 30 ก.ย. 63 ค่าวัสดุ และครุภัณฑ์ เป็นเงิน 7,500 บาท 0 7,500.00 -
1 ต.ค. 62 - 28 ก.ย. 63 ค่าจัดทำแผนสุุขภาพชุมชน 65 8,100.00 -

3.1 จัดทำแผนและรวบรวมแผนเพื่อเสนอโครงการขออนุมัติ 3.2 จัดทำแผนการซื้อวัสดุ-อุปกรณ์สำนักงาน ครุภัณฑ์ที่จำเป็นต่อการดำเนินงานกองทุนฯ 3.3 จัดประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุน คณะทำงานและคณะอนุกรรมการเพื่อช่วยเหลือการดำเนินงานกองทุน และดำเนินกิจกรรมต่างๆของกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลกะดุนง และจัดประชุมคณะอนุกรรมการ LTC เพื่ออนุมัติแผนและติดตามแผน 3.4 รายงานและสรุปผลการดำเนินโครงการ

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

6.1 คณะกรรมการบริหารกองทุนและผู้เกี่ยวข้องมีความเข้าใจแนวทางบริหารจัดการกองทุนฯ 6.2 เกิดการดำเนินงานอย่างบูรณาการและมีส่วนร่วมในการพัฒนาสิทธิประโยชน์ที่เป็นภูมิปัญญา
ของท้องถิ่น 6.3 เกิดการและเปลี่ยนเรียนรู้ ประสบการณ์การดำเนินงานและทิศทางของสำนักงานหลักประกัน สุขภาพแห่งชาติ 6.4 เกิดพื้นที่ต้นแบบที่มีผลงานเป็นนวัตกรรมดีเด่น 6.5 เกิดเครือข่ายความร่วมมือจากภาคีในการดำเนินสุขภาพชุมชน ในเขตองค์การบริหารส่วน ตำบลกะดุนง

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 26 มี.ค. 2563 15:23 น.