โครงการ"รู้เร็ว รู้ไว"ห่างไกลโรคมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก
ชื่อโครงการ | โครงการ"รู้เร็ว รู้ไว"ห่างไกลโรคมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก |
รหัสโครงการ | 63-L2483-1-07 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต. |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนานาค |
วันที่อนุมัติ | 23 มีนาคม 2563 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 มีนาคม 2563 - 30 กันยายน 2563 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 31 ตุลาคม 2563 |
งบประมาณ | 13,600.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางสาวณธัญ หะยีดือราแม |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลนานาค อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส |
ละติจูด-ลองจิจูด | 6.09708,102.00961place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 680 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
โรคมะเร็งปากมดลูก เป็นโรคมะเร็งที่พบเป็นอันดับหนึ่งในสตรีไทย พบผู้ป่วยรายใหม่ประมาณปีละ ๘,๒๐๐ รายพบมากที่สุดระหว่างอายุ ๔๕-๕๐ ปี ระยะที่พบส่วนใหญ่อยู่ในระยะลุกลาม อัตราการอยู่รอด ๕ ปีประมาณร้อยละ ๖๐ จึงมีผู้ป่วยสะสมจำนวนมากคาดประมาณว่าจะมีผู้ป่วยรายใหม่และผู้ป่วยเก่าที่ต้องติดตามทำการดูแลรักษาอยู่ไม่น้อยกว่า๖,๐๐๐ คนทั่วประเทศการทำการตรวจคัดกรองมะเร็งปาดมดลูกโดยการทำ Pap Smear ได้มีผลการศึกษาวิจัยทั่วโลกว่าสามารถลดอุบัติการณ์และอัตราการตายจากโรคมะเร็งปากมดลูกได้มากกว่าร้อยละ ๘๐ ถ้าทำได้อย่างมีคุณภาพและมีความครอบคลุมกลุ่มประชากรเป้าหมายทั้งหมดได้สูง จากผลการศึกษาในหลายประเทศแสดงให้เห็นว่าการตรวจคัดกรองด้วยการทำ Pap Smear ให้ครอบคลุมกลุ่มสตรีเป้าหมายทั้งหมดมีความสำคัญต่อการลดอัตราการเกิดและอัตราตายจากโรคมะเร็งปากมดลูกมากกว่าความถี่ที่ได้รับการตรวจแต่ไม่ครอบคลุมประชากรทั้งหมดจึงได้มีการดำเนินโครงการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกขึ้นโดยครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายสตรีอายุ ๓๐-๖๐ ปีดังนั้นทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนานาคได้จัดทำโครงการให้ความรู้และสาธิตการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกขึ้นเพื่อเป็นการเพิ่มความรู้และพัฒนาคุณภาพชีวิตรวมถึงลดค่าใช้จ่ายตลอดจนทรัพยากรที่จะต้องใช้ในการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคมะเร็ง
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อให้สตรีที่ตรวจพบสิ่งผิดปกติได้รับการส่งต่อและเข้ารับการรักษาอย่างต่อเนื่อง ร้อยละ ๑๐๐ ของสตรีที่ตรวจพบผลเซลล์ปกมดลูกผิดปกติได้รับการส่งต่อ |
0.00 |
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
คงเหลือ (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรม | 0 | 13,600.00 | 0 | 0.00 | 13,600.00 | |
1 มี.ค. 63 - 30 ก.ย. 63 | กิจกรรมอบรมให้ความรู้ | 0 | 13,600.00 | - | - | ||
รวมทั้งสิ้น | 0 | 13,600.00 | 0 | 0.00 | 13,600.00 |
๑. จัดทำทะเบียนสตรีอายุ ๓๐-๖๐ ปีที่ยังไม่เคยตรวจมะเร็งปากมดลูกกภายใน ๕ ปีที่ผ่านมาในเขตพื้นที่ ๒.ประชาสัมพันธ์ เชิญชวนสตรีอายุ ๓๐-๖๐ ปี มารับฟังเพื่อฟื้นฟูความรู้เกี่ยวกับมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมพร้อมสาธิตการตรวจเต้านม และสาธิตการใช้เครื่องมือในการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกจากวิทยากรของหน่วยบริการ ๓. สตรีอายุ ๓๐-๖๐ ปี เข้ารับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมจากหน่วยบริการในพื้นที่ ๔.แจ้งผลการตรวจแก่กลุ่มเป้าหมาย ๕.กลุ่มเป้าหมายที่มีผลผิดปกติได้รับการส่งต่อและรักษา ๖. สรุปและประเมินผลการดำเนินงาน
๑.สตรีกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ และเกิดความตระหนักในการเข้ารับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกเพิ่มขึ้น ๒. สตรีกลุ่มเป้าหมายที่ตรวจพบสิ่งผิดปกติได้รับการส่งต่อเพื่อรับการรักษษอย่างต่อเนื่อง
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 26 มี.ค. 2563 00:00 น.