โครงการอบรมการใช้สมุนไพรไทยสาธิตการทำลูกประคบ
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการอบรมการใช้สมุนไพรไทยสาธิตการทำลูกประคบ ”
ตำบลอ่าวตง อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นายธวัช ใสเกื้อ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อ่าวตง
กันยายน 2563
ชื่อโครงการ โครงการอบรมการใช้สมุนไพรไทยสาธิตการทำลูกประคบ
ที่อยู่ ตำบลอ่าวตง อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 63-L1520-01-27 เลขที่ข้อตกลง 23/2563
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 11 มีนาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการอบรมการใช้สมุนไพรไทยสาธิตการทำลูกประคบ จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลอ่าวตง อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อ่าวตง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมการใช้สมุนไพรไทยสาธิตการทำลูกประคบ
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการอบรมการใช้สมุนไพรไทยสาธิตการทำลูกประคบ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลอ่าวตง อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 63-L1520-01-27 ระยะเวลาการดำเนินงาน 11 มีนาคม 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 12,832.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อ่าวตง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
พืชสมุนไพรเป็นผลผลิตจากธรรมชาติ ที่มนุษย์รู้จักนำมาใช้ประโยชน์ เพื่อการรักษาโรคภัยไข้เจ็บตั้งแต่โบราณกาลแล้ว เช่น ในเอเชียก็มีหลักฐานแสดงว่ามนุษย์รู้จักใช้พืชสมุนไพรมากกว่า 6000 ปี แต่หลังจากที่ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ มีการพัฒนาเจริญก้าวหน้ามากขึ้น มีการสังเคราะห์ และผลิตยาจากสารเคมี ในรูปที่ใช้ประโยชน์ได้ง่าย สะดวกสบายในการใช้มากกว่าสมุนไพร ทำให้ความนิยมใช้ยาสมุนไพรลดลงมาเป็นอันมาก เป็นเหตุให้ความรู้วิทยาการด้านสมุนไพรขาดการพัฒนาไม่เจริญก้าวหน้าเท่าที่ควร ในปัจจุบันทั่วโลกได้ยอมรับแล้วว่าผลที่ได้จากการสกัดสมุนไพรให้คุณประโยชน์ดีกว่ายา ที่ได้จากการสังเคราะห์ทางวิทยาศาสตร์ ประกอบกับในประเทศไทยเป็นแหล่งทรัพยากรธรรมชาติอันอุดมสมบูรณ์ มีพืชต่างๆที่ใช้เป็นสมุนไพรได้อย่างมากมายนับหมื่นชนิด ยังขาดก็แต่เพียงการค้นคว้าวิจัยในทางที่เป็นวิทยาศาสตร์มากขึ้น ปัจจุบันหลายคนเริ่มหันมาสนใจดูแลสุขภาพ การบริโภคอาหารพืชสมุนไพรหรือนำพืชสมุนไพรที่พบเห็นได้ทั่วไปมาใช้ดุแล ป้องกัน ส่งเสริมสุขภาพตนเองเบื้องต้น นับได้ว่าเป็นสิ่งที่ทุกคนควรปฏิบัติดังเช่นบรรพบุรุษของเราที่มีการใช้สมุนไพรเพื่อการรักษาเบื้องต้นมานานแล้ว การนำพืชสมุนไพร เช่น พริก ข่า ตะไคร้ มะกรูด มะนาว มาปลูกไว้รอบๆบ้าน หรือที่มีอยู่ในชุมชนของตนเพื่อเป็นพืชสมุนไพรสามัญประจำบ้านที่สามารถหยิบใช้สอยเมื่อยามจำเป็น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านในปงจึงมีกิจกรรมส่งเสริมดูแลสุขภาพด้านการแพทย์แผนไทย ให้เกิดความตระหนักถึงสุขภาพของคนในเขตพื้นที่ทำลูกประคบสมุนไพร ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการนำสมุนไพรหลายชนิดมาผ่านกระบวนการทำความสะอาดแล้วนำมาหั่นหรือสับ ให้เป็นชิ้นตามขนาดที่ต้องการพอแตกใช้สดหรือทำให้แห้งนำมาห่อหรือบรรจุรวมกันในผ้าให้ได้รูปทรงต่าง ๆ เช่นทรงกลม หมอนสำหรับใช้นาบหรือกดประคบส่วนต่าง ๆ ของร่างกายเพื่อทำให้กล้ามเนื้อผ่อนคลาย ถ้าเป็นลูกประคบสมุนไพรแห้ง ก่อนใช้ต้องนำมาพรมน้ำแล้วทำให้ร้อนโดยนึ่ง ลักษณะทั่วไปของลูกประคบสมุนไพรต้องห่อผ้าปิดสนิทรูปทรงต่าง ๆ ภายในบรรจุสมุนไพรสดหรือแห้งหลายชนิดรวมกัน มีกลิ่นหอมของน้ำมันหอมระเหยของสมุนไพร คุณค่าของสมุนไพรที่มีใช้ในครัวเรือนและประโยชน์ทางยาของสมุนไพรต่าง ๆ มาประยุกต์ใช้ ส่งเสริมให้นักเรียน อนุรักษ์ และสืบสานภูมิปัญญาไทยต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ อสม.มีความรู้ ความเข้าใจเรื่องการใช้สมุนไพรและประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมการใช้สมุนไพรไทยสาธิตการทำลูกประคบ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
50
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.อสม.มีความรู้ ความเข้าใจเรื่องการใช้สมุนไพรและประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้
2.อสม.เป็นแกนนำ ส่งเสริมอนุรักษ์การใช้ยาสมุนไพร และสืบสานภูมิปัญญาไทยในชุมชน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. อบรมการใช้สมุนไพรไทยสาธิตการทำลูกประคบ
วันที่ 30 กันยายน 2563กิจกรรมที่ทำ
- จัดการประชาสัมพันธ์ให้กลุ่ม อสม. ทราบเพื่อเตรียมกลุ่มเป้าหมาย และนัด วัน เวลา และสถานที่ในการตรวจ
- เตรียม เครื่องมือและอุปกรณ์ในการอบรมการใช้สมุนไพรไทยและการทำลูกประคบสมุนไพรไทย โดยมีวิทยากรเป็นแพทย์แผนไทยมาอบรม
- ประสานกับพื้นที่ เพื่อเตรียมการและวางแผนการดำเนินงานอบรมการใช้สมุนไพรไทย
- ดำเนินการอบรมการใช้สมุนไพรไทยและการทำลูกประคบสมุนไพรไทย ตามวัน และเวลาที่นัดหมาย
- อสม. ทำการผลิตลูกประคบสมุนไพรนำไปใช้เพื่อเป็นการขยายตลาด และประชาสัมพันธ์การใช้ยาสมุนไพรในชุมชน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- กิจกรรม อสม.และแกนนำร่วมอบรมการทำลูกประคบ จำนวน 55 ค .มีความรู้ ความเข้าใจเรื่องการใช้สมุนไพรและประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้
2.สาธิตพร้อมฝึกปฎิบัติการทำลูกประคบ
3.กิจกรรมเรียนรู้สรรพคุณสมุนไพร และส่งเสริมการปลูกสมุนไพรในบริเวณบ้าน
50
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
- กิจกรรม อสม.และแกนนำร่วมอบรมการทำลูกประคบ จำนวน 55 ค .มีความรู้ ความเข้าใจเรื่องการใช้สมุนไพรและประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้
2.สาธิตพร้อมฝึกปฎิบัติการทำลูกประคบ
3.กิจกรรมเรียนรู้สรรพคุณสมุนไพร และส่งเสริมการปลูกสมุนไพรในบริเวณบ้าน
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้ อสม.มีความรู้ ความเข้าใจเรื่องการใช้สมุนไพรและประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้
ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ 100 กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจการใช้สมุนไพรไทย
2.ร้อยละ 100 กลุ่มเป้าหมายสามารถทำลูกประคบใช้เองได้
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
50
55
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
50
55
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ อสม.มีความรู้ ความเข้าใจเรื่องการใช้สมุนไพรและประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมการใช้สมุนไพรไทยสาธิตการทำลูกประคบ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการอบรมการใช้สมุนไพรไทยสาธิตการทำลูกประคบ จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 63-L1520-01-27
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายธวัช ใสเกื้อ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการอบรมการใช้สมุนไพรไทยสาธิตการทำลูกประคบ ”
ตำบลอ่าวตง อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นายธวัช ใสเกื้อ
กันยายน 2563
ที่อยู่ ตำบลอ่าวตง อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 63-L1520-01-27 เลขที่ข้อตกลง 23/2563
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 11 มีนาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการอบรมการใช้สมุนไพรไทยสาธิตการทำลูกประคบ จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลอ่าวตง อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อ่าวตง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมการใช้สมุนไพรไทยสาธิตการทำลูกประคบ
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการอบรมการใช้สมุนไพรไทยสาธิตการทำลูกประคบ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลอ่าวตง อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 63-L1520-01-27 ระยะเวลาการดำเนินงาน 11 มีนาคม 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 12,832.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อ่าวตง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
พืชสมุนไพรเป็นผลผลิตจากธรรมชาติ ที่มนุษย์รู้จักนำมาใช้ประโยชน์ เพื่อการรักษาโรคภัยไข้เจ็บตั้งแต่โบราณกาลแล้ว เช่น ในเอเชียก็มีหลักฐานแสดงว่ามนุษย์รู้จักใช้พืชสมุนไพรมากกว่า 6000 ปี แต่หลังจากที่ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ มีการพัฒนาเจริญก้าวหน้ามากขึ้น มีการสังเคราะห์ และผลิตยาจากสารเคมี ในรูปที่ใช้ประโยชน์ได้ง่าย สะดวกสบายในการใช้มากกว่าสมุนไพร ทำให้ความนิยมใช้ยาสมุนไพรลดลงมาเป็นอันมาก เป็นเหตุให้ความรู้วิทยาการด้านสมุนไพรขาดการพัฒนาไม่เจริญก้าวหน้าเท่าที่ควร ในปัจจุบันทั่วโลกได้ยอมรับแล้วว่าผลที่ได้จากการสกัดสมุนไพรให้คุณประโยชน์ดีกว่ายา ที่ได้จากการสังเคราะห์ทางวิทยาศาสตร์ ประกอบกับในประเทศไทยเป็นแหล่งทรัพยากรธรรมชาติอันอุดมสมบูรณ์ มีพืชต่างๆที่ใช้เป็นสมุนไพรได้อย่างมากมายนับหมื่นชนิด ยังขาดก็แต่เพียงการค้นคว้าวิจัยในทางที่เป็นวิทยาศาสตร์มากขึ้น ปัจจุบันหลายคนเริ่มหันมาสนใจดูแลสุขภาพ การบริโภคอาหารพืชสมุนไพรหรือนำพืชสมุนไพรที่พบเห็นได้ทั่วไปมาใช้ดุแล ป้องกัน ส่งเสริมสุขภาพตนเองเบื้องต้น นับได้ว่าเป็นสิ่งที่ทุกคนควรปฏิบัติดังเช่นบรรพบุรุษของเราที่มีการใช้สมุนไพรเพื่อการรักษาเบื้องต้นมานานแล้ว การนำพืชสมุนไพร เช่น พริก ข่า ตะไคร้ มะกรูด มะนาว มาปลูกไว้รอบๆบ้าน หรือที่มีอยู่ในชุมชนของตนเพื่อเป็นพืชสมุนไพรสามัญประจำบ้านที่สามารถหยิบใช้สอยเมื่อยามจำเป็น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านในปงจึงมีกิจกรรมส่งเสริมดูแลสุขภาพด้านการแพทย์แผนไทย ให้เกิดความตระหนักถึงสุขภาพของคนในเขตพื้นที่ทำลูกประคบสมุนไพร ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการนำสมุนไพรหลายชนิดมาผ่านกระบวนการทำความสะอาดแล้วนำมาหั่นหรือสับ ให้เป็นชิ้นตามขนาดที่ต้องการพอแตกใช้สดหรือทำให้แห้งนำมาห่อหรือบรรจุรวมกันในผ้าให้ได้รูปทรงต่าง ๆ เช่นทรงกลม หมอนสำหรับใช้นาบหรือกดประคบส่วนต่าง ๆ ของร่างกายเพื่อทำให้กล้ามเนื้อผ่อนคลาย ถ้าเป็นลูกประคบสมุนไพรแห้ง ก่อนใช้ต้องนำมาพรมน้ำแล้วทำให้ร้อนโดยนึ่ง ลักษณะทั่วไปของลูกประคบสมุนไพรต้องห่อผ้าปิดสนิทรูปทรงต่าง ๆ ภายในบรรจุสมุนไพรสดหรือแห้งหลายชนิดรวมกัน มีกลิ่นหอมของน้ำมันหอมระเหยของสมุนไพร คุณค่าของสมุนไพรที่มีใช้ในครัวเรือนและประโยชน์ทางยาของสมุนไพรต่าง ๆ มาประยุกต์ใช้ ส่งเสริมให้นักเรียน อนุรักษ์ และสืบสานภูมิปัญญาไทยต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ อสม.มีความรู้ ความเข้าใจเรื่องการใช้สมุนไพรและประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมการใช้สมุนไพรไทยสาธิตการทำลูกประคบ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 50 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.อสม.มีความรู้ ความเข้าใจเรื่องการใช้สมุนไพรและประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้ 2.อสม.เป็นแกนนำ ส่งเสริมอนุรักษ์การใช้ยาสมุนไพร และสืบสานภูมิปัญญาไทยในชุมชน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. อบรมการใช้สมุนไพรไทยสาธิตการทำลูกประคบ |
||
วันที่ 30 กันยายน 2563กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
50 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
- กิจกรรม อสม.และแกนนำร่วมอบรมการทำลูกประคบ จำนวน 55 ค .มีความรู้ ความเข้าใจเรื่องการใช้สมุนไพรและประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้
2.สาธิตพร้อมฝึกปฎิบัติการทำลูกประคบ 3.กิจกรรมเรียนรู้สรรพคุณสมุนไพร และส่งเสริมการปลูกสมุนไพรในบริเวณบ้าน
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ อสม.มีความรู้ ความเข้าใจเรื่องการใช้สมุนไพรและประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้ ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ 100 กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจการใช้สมุนไพรไทย 2.ร้อยละ 100 กลุ่มเป้าหมายสามารถทำลูกประคบใช้เองได้ |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 50 | 55 | |
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 50 | 55 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ อสม.มีความรู้ ความเข้าใจเรื่องการใช้สมุนไพรและประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมการใช้สมุนไพรไทยสาธิตการทำลูกประคบ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการอบรมการใช้สมุนไพรไทยสาธิตการทำลูกประคบ จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 63-L1520-01-27
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายธวัช ใสเกื้อ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......