กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการเฝ้าระวังป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาหรือโรคโควิด-๑๙ (Coronavirus Disease ๒๐๑๙) ในปีงบประมาณ ๒๕๖๓ ”
ตำบลนานาค อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส



หัวหน้าโครงการ
นางชาณา สุวรรณนิตย์




ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาหรือโรคโควิด-๑๙ (Coronavirus Disease ๒๐๑๙) ในปีงบประมาณ ๒๕๖๓

ที่อยู่ ตำบลนานาค อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 63-L2483-2-09 เลขที่ข้อตกลง 16/2563

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2563 ถึง 1 ธันวาคม 2563

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเฝ้าระวังป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาหรือโรคโควิด-๑๙ (Coronavirus Disease ๒๐๑๙) ในปีงบประมาณ ๒๕๖๓ จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนานาค อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นานาค ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาหรือโรคโควิด-๑๙ (Coronavirus Disease ๒๐๑๙) ในปีงบประมาณ ๒๕๖๓



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเฝ้าระวังป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาหรือโรคโควิด-๑๙ (Coronavirus Disease ๒๐๑๙) ในปีงบประมาณ ๒๕๖๓ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนานาค อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 63-L2483-2-09 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2563 - 1 ธันวาคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นานาค เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID- ๑๙) ในประเทศจีน และแพร่ระบาดไปในหลายประเทศทั่วโลกซึ่งอาการคือ มีอาการไข้เจ็บคอ หอบเหนื่อยหรือมีอาการของโรคปอดอักเสบในรายที่มีอาการรุนแรง จะมีอาการระบบทางเดินหายใจล้มเหลวและอาจถึงขั้นเสียชีวิตปัจจุบันมีรายงานจากษูนย์ปฎิบัติการภาวะฉุกเฉินกรมควบคุมโรคกระทรวงสาธารณสุขรายงานสถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ ฉบับที่ ๘๐วันที่ ๒๓ มีนาคม ๒๕๖๓ มีรายงานผู้ป่วยยืนยันทั่วโลกรวม ๑๘๙ ประเทศ ๒ เขตการบริหารพิเศษ ๑ นครรัฐ เรือ Diamond Princess และเรือGrandPrincessในวันที่๒๓ มีนาคมจำนวน๓๔๓๔๑๔ ราย มีอาการรุนแรง ๑๐๕๙๖ ราย เสีชีวิต ๑๔๗๗๖ รายโดยประเทศที่มียอดผู้ป่วยยืนยัน ๑๐ อันดับแรก ได้แกจีน และในส่วนของประเทศเพื่อนบ้านของประเทศไทยคือประเทศมาเลเซีย สถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงกัวลาลัมเปอร์ประกาศเพิ่เติมปิดด่านพรมแดนทางบกไทย-มาเลเซียชั่วคราวโดยให้ผู้ว่าราชการจังหวัดสงขลา จังหวัดสตูลจังหวัดยะลา และจังหวัดนราธิวาสระงับการเดินทางเข้า-ออกไทยของบุคคลทุกสัญชาติสำหรับคนไหยในประเทศมาเลเซียที่จะเดินทางกลับไทยสามารถเดินทางกลับได้ทางอากาศเท่านั้นโดยจะต้องมีใบรับรองแพทย์ที่ยืนยันว่ามีสุขภาพเหมาะสมต่อการเดินทางทางอากาศด้วยขณะนี้ส่วนในประเทศไทยกระทรวงสาธารณสุขได้ประกาศให้โรคติดเชื้อไวรัสจากสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID- ๑๙) เป็นโรคติดต่ออันตรายโดยประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ ๑ มีนาคม ๒๕๖๓ เป็นต้นมา ซึ่งขณะนี้มีรายงานข้อมูล เมื่อวันที่ ๒๓ มีนาคม ๒๕๖๓ ณ เวลา ๑๘๐๐ นจากศูนย์ปฎิบัติการฉุกเฉินกรมควบคุมโรคกระทรวงสาธารณสุข รายงานสถานการณ์โรคติดเชื่อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ฉบับที่ ๘๐ วันที่ ๒๓ มีนาคม ๒๕๖๓ พบผู้ป่วยในประเทศไทยยืนยันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ จำนวน ๗๒๑ รายรักษาหายและแพทย์ให้กลับบ้าน ๕๗ ราย ผู้ป่วยยืนยันท่เสียชีวิต ๑ ราย ผลตรวจผู้ป่วยที่มีอาการตามนิยามเฝ้าระวังที่เหลือ ๑๑๐๘๖ รายตรวจไม่พบเชื้อ ๖๙๖๑ รายและอยู่ระหว่างรอผลตรวจทางห้องปฎิบัติการ ๔๑๒๕ ราย ทั้งนี้การเฝ้าระวังป้องกันโรคติเดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ หรือโรคโควิด โดยเฉพาะในส่วนของสถานศึกษาซึ่งมีนักเรียนอยู่รวมกันเป็นจำนวนมากจำเป็นต้องมีมาตรการการดำเนินการเฝ้าระวังป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ หรือโรคโควิดไม่ให้เกิดขึ้นกับนักเรียนซึ่งโรงเรียนบ้านปะดะดอเป็นสถานศึกษาซึ่งมีหน้าที่รับผิดชอบดูแลนักเรียนจึงต้องมีการตอบโต้สถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ หรือโรคโควิดให้ทันต่อเหตุการณ์เพื่อลดผลกระทบต่อสุขภาพของนักเรียนในช่วงเปิดภาคเรียนปีการศึกษา ๒๕๖๓ ตลอดจนป้องกันไม่ให้เกิดการแพร่ระบาดของโรคในวงกว้างต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ิกิจกรรมที่ ๑ กิจกรรมฉีดพ่นน้ำยาฆ่าเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ หรือโรคโควิด ๑๙

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 100
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. พื้นที่โรงเรียนวัดเกษตรธิการามตำบลนานาค อำเภอตากใบจังหวัดนราธิวาสมีความสะอาดปลอดภัยไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙หรือโรคโควิด ๑๙ (Coronavirus Disease ๒๐๑๙) ๒.โรงเรียนวัดเกษตรธิการามมีวัสดุอุปกรณ์ในการป้องกันโรคได้แก่ เครื่องวัดอุณหภูมิร่างกายหน้าผากดิจิตอลแบบอินฟาเรดมือถือหน้ากากผ้า เจลล้างมือแอลกอฮอล์ สบู่ล้างมือ เพียงพอในการให้บริการแก่นักเรียน ๓. นักเรียนและบุคลากรโรงเรียนวัดเกษตรธิการามรู้วิธีป้องกันตนเองจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ หรือโรคโควิด ๑๙ (Coronavirus Disease ๒๐๑๙) ๔. นักเรียนประชาชนคนในพื้นที่บ้านตาเซ๊ะกัวลอต๊ะสามารป้องกันตนเองจากโรคติดเชื้อ ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ หรือโรคโควิด ๑๙ (Coronavirus Disease ๒๐๑๙)


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 0
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 100
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ิกิจกรรมที่ ๑ กิจกรรมฉีดพ่นน้ำยาฆ่าเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ หรือโรคโควิด ๑๙

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเฝ้าระวังป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาหรือโรคโควิด-๑๙ (Coronavirus Disease ๒๐๑๙) ในปีงบประมาณ ๒๕๖๓ จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 63-L2483-2-09

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางชาณา สุวรรณนิตย์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด