โครงการอบต.ควนโนรี รู้เท่าทัน ป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการอบต.ควนโนรี รู้เท่าทัน ป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ”
ตำบลควนโนรี อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นางมัรยัม เกษธิมา
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนโนรี
เมษายน 2563
ชื่อโครงการ โครงการอบต.ควนโนรี รู้เท่าทัน ป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
ที่อยู่ ตำบลควนโนรี อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 63-l2974-05-28 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 7 เมษายน 2563 ถึง 11 เมษายน 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการอบต.ควนโนรี รู้เท่าทัน ป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลควนโนรี อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนโนรี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการอบต.ควนโนรี รู้เท่าทัน ป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการอบต.ควนโนรี รู้เท่าทัน ป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลควนโนรี อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 63-l2974-05-28 ระยะเวลาการดำเนินงาน 7 เมษายน 2563 - 11 เมษายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 66,890.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนโนรี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากสถานการณ์การระบาดของไวรัสโควิด 2019 ซึ่งมีการประกาศกระทรวงสาธารณสุขให้ โรคไวรัสโครน่า หรือ COVID-19 เป็นโรคร้ายแรง ทำให้เกิดการตื่นหนกของประชาชนทั่วโลกและคนไทย ซึ่งพบการระบาดไปในหลายประเทศส่งผลให้มีผู้เสียชีวิตจำนวนมาก ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจสังคมอย่างรุนแรง สถานการณ์การระบาดกำลังแพร่กระจายยังทั่วโลกไม่สามารถควบคุมได้
รายงานผู้ป่วยยืนยันทั่วโลก ตั้งแต่วันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2562 ถึงวันที่ 16 มีนาคม พ.ศ.2563 โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 กระจายไปยัง 152 ประเทศ 2 เขตบริหารพิเศษ 1 นครรัฐ ทั้งนี้ ในวันที่ 15 มีนาคม มีรายงานจำนวนผู้ป่วยทั่วโลกทั้งสิ้น 157,411 ราย มีอาการรุนแรง 5,649 ราย และเสียชีวิต 5,845 ราย เมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2563 มีการประกาศจากกระทรวงสาธารณสุขให้โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือโรคโควิด 19 (Coronavirus Disease 2019: COVID) เป็นโรคติดต่ออันตรายตามพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. 2558 จำนวนผู้ป่วยยืนยันติดเชื้อในประเทศไทยทั้งหมด 1,045 ราย เสียชีวิต 4 ราย เพื่อประโยชน์ในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่ออันตราย อาศัยอำนาจตามความในมาตรา 5 วรรคหนึ่ง และมาตรา 6 (1) แห่งพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. 2558 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ประกาศนี้เรียกว่า “ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง ชื่อและอาการสำคัญของโรคติดต่ออันตราย (ฉบับที่ 7) พ.ศ.2563 นอกจากนี้ สถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงกัวลาลัมเปอร์ ได้ออกประกาศสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ฉบับที่ 2/2563 จากการที่มีคณะกิจกรรมพบปะทางศาสนา (ตับลีฆ) ที่มัสยิด ซือรี ปือตาลิง กรุงกัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย ระหว่างวันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2 มีนาคม พ.ศ. 2563 ซึ่งมีจำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรมกว่า 10,000 คน และต่อมาได้มีการตรวจพบผู้ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) หลังจากเข้าร่วมการชุมนุมดังกล่าว และที่สำคัญตามรายงานข่าวแจ้งว่ามีคนไทยเข้าร่วมกิจกรรมดังกล่าว จำนวน 132 คน ซึ่งส่วนใหญ่เป็นประชาชนจาก 5 จังหวัดชายแดนใต้ และมีรายงานการเข้ารายงานตัวเพื่อคัดกรองตรวจหาเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) อยู่ระหว่างการกักตัวภายใน 14 วัน ในภูมิลำเนาของตนเอง แม้ว่าความพยายามในการควบคุมโรค โดยการตรวจจับผู้ป่วยให้ได้อย่างรวดเร็ว แยกโรค และติดตามผู้สัมผัสผู้ป่วยทุกราย ทำให้การระบาดยังอยู่ในวงจำกัดในระยะที่ผ่านมา (Phase 2) อย่างไรก็ตาม ยังคงมีความเสี่ยงสูงที่ประเทศไทยจะพบการระบาดในวงกว้าง
เพื่อให้สามารถควบคุมการระบาดของโรคให้อยู่ในวงจำกัด ลดผลกระทบทางสุขภาพ รวมถึงสามารถดูแลประชาชนและผู้เดินทางจากต่างประเทศ ให้ปลอดภัยจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ตามหลักการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีความจำเป็นที่ต้องมีมาตรการเฝ้าระวัง ป้องกัน เน้นการชะลอการระบาด ลดผลกระทบ และเพื่อรับสถานการณ์การระบาดในระยะที่ 3 (Phase 3 widespread local transmission) กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทยพิจารณาแล้วเห็นว่า เพื่อการเฝ้าระวังและป้องกันการระบาดของโรคปอดอักเสบจากเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) จึงขอความร่วมมือจังหวัดแจ้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ดำเนินการตามพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 และที่แก้ไขเพิ่มเติม มาตรา 50 (4) เทศบาลมีอำนาจหน้าที่ในการป้องกันและระงับโรคติดต่อ มาตรา 54 (7) จัดทำกิจการ ซึ่งจำเป็นเพื่อการสาธารณสุข มาตรา 56 (3) กิจการอย่างอื่นซึ่งจำเป็นเพื่อการสาธารณสุข พระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2542 มาตรา 16 (19) เทศบาล องค์การบริหารส่วนตำบล และเมืองพัทยามีอำนาจหน้าที่ในการสาธารณสุข การอนามัยครอบครัวและการรักษาพยาบาล และตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ. 2561 ข้อ 10 (5) เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมกิจกรรมกรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติในพื้นที่ให้ทันต่อสถานการณ์ได้ ดังนั้น เพื่อเป็นการป้องกันการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ที่อาจเกิดขึ้นแก่ประชาชน ทางองค์การบริหารส่วนตำบลควนโนรี จึงได้จัดทำ โครงการอบต.ควนโนรี รู้เท่าทัน ป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เพื่อดำเนินการประชาสัมพันธ์ ป้องกัน และเฝ้าระวังควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา2019 (COVID-19) รวมถึงช่วยลดผลกระทบทางด้านสุขภาพ เศรษฐกิจสังคมและเพิ่มความมั่นใจให้กับประชาชนในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลควนโนรี
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนมีความรู้และเตรียมความพร้อมต่อมาตรการในการป้องกันและควบคุมโรคโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
- เพื่อเฝ้าระวังและป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1. กิจกรรมเสียงตามสายประชาสัมพันธ์ให้ความรู้วิธีการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
- 2. กิจกรรมคัดกรองบุคคลที่เสี่ยงต่อการติดเชื้อโรคไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในชุมชน
- 3. กิจกรรมทำความสะอาดสถานที่ราชการ และที่สาธารณะอื่นๆ
- กิจกรรมจัดหาอุปกรณ์ที่ใช้ในการป้องกันตนเองจากโรคติดเชื้อโรคไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
1,036
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชาชนมีความรู้มีความตระหนักและเห็นความสำคัญในการป้องกันโรคโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา
2019 (COVID-19)
- สามารถป้องกันและควบคุมการเกิดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในชุมชนได้
- ประชาชนและเจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติการในพื้นที่มีอุปกรณ์ป้องกันในการตนเองได้อย่างเพียงพอ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนมีความรู้และเตรียมความพร้อมต่อมาตรการในการป้องกันและควบคุมโรคโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
ตัวชี้วัด : 1. ประชาชน ผู้ประกอบการอาหาร ร้านค้า และอาชีพให้บริการอื่นๆ ในพื้นที่ได้รับความรู้ และมีความพร้อมในการเฝ้าระวังป้องกันตนเองจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
2. ประชาชนเกิดความตระหนักและสามารถป้องกันโรคระบาดโดยเริ่มจากตนเอง
1036.00
1036.00
1,036.00
2
เพื่อเฝ้าระวังและป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
ตัวชี้วัด : 3. ประชาชนที่กลับจากพื้นที่เสี่ยงและมีอาการน่าสงสัยที่อาศัยในพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลควนโนรีได้รับการคัดกรอง ร้อยละ 80
4. ประชาชนและเจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติการในพื้นที่ได้รับอุปกรณ์ป้องกันในการตนเองได้อย่างเพียงพอ
5. ทำความสะอาดสถานที่ราชการ และที่สาธารณะอื่นๆ
1036.00
1036.00
1,036.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
1036
1036
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
0
กลุ่มผู้สูงอายุ
0
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
1,036
1,036
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนมีความรู้และเตรียมความพร้อมต่อมาตรการในการป้องกันและควบคุมโรคโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) (2) เพื่อเฝ้าระวังและป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. กิจกรรมเสียงตามสายประชาสัมพันธ์ให้ความรู้วิธีการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) (2) 2. กิจกรรมคัดกรองบุคคลที่เสี่ยงต่อการติดเชื้อโรคไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในชุมชน (3) 3. กิจกรรมทำความสะอาดสถานที่ราชการ และที่สาธารณะอื่นๆ (4) กิจกรรมจัดหาอุปกรณ์ที่ใช้ในการป้องกันตนเองจากโรคติดเชื้อโรคไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการอบต.ควนโนรี รู้เท่าทัน ป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 63-l2974-05-28
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางมัรยัม เกษธิมา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการอบต.ควนโนรี รู้เท่าทัน ป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ”
ตำบลควนโนรี อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นางมัรยัม เกษธิมา
เมษายน 2563
ที่อยู่ ตำบลควนโนรี อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 63-l2974-05-28 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 7 เมษายน 2563 ถึง 11 เมษายน 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการอบต.ควนโนรี รู้เท่าทัน ป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลควนโนรี อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนโนรี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการอบต.ควนโนรี รู้เท่าทัน ป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการอบต.ควนโนรี รู้เท่าทัน ป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลควนโนรี อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 63-l2974-05-28 ระยะเวลาการดำเนินงาน 7 เมษายน 2563 - 11 เมษายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 66,890.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนโนรี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากสถานการณ์การระบาดของไวรัสโควิด 2019 ซึ่งมีการประกาศกระทรวงสาธารณสุขให้ โรคไวรัสโครน่า หรือ COVID-19 เป็นโรคร้ายแรง ทำให้เกิดการตื่นหนกของประชาชนทั่วโลกและคนไทย ซึ่งพบการระบาดไปในหลายประเทศส่งผลให้มีผู้เสียชีวิตจำนวนมาก ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจสังคมอย่างรุนแรง สถานการณ์การระบาดกำลังแพร่กระจายยังทั่วโลกไม่สามารถควบคุมได้
รายงานผู้ป่วยยืนยันทั่วโลก ตั้งแต่วันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2562 ถึงวันที่ 16 มีนาคม พ.ศ.2563 โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 กระจายไปยัง 152 ประเทศ 2 เขตบริหารพิเศษ 1 นครรัฐ ทั้งนี้ ในวันที่ 15 มีนาคม มีรายงานจำนวนผู้ป่วยทั่วโลกทั้งสิ้น 157,411 ราย มีอาการรุนแรง 5,649 ราย และเสียชีวิต 5,845 ราย เมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2563 มีการประกาศจากกระทรวงสาธารณสุขให้โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือโรคโควิด 19 (Coronavirus Disease 2019: COVID) เป็นโรคติดต่ออันตรายตามพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. 2558 จำนวนผู้ป่วยยืนยันติดเชื้อในประเทศไทยทั้งหมด 1,045 ราย เสียชีวิต 4 ราย เพื่อประโยชน์ในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่ออันตราย อาศัยอำนาจตามความในมาตรา 5 วรรคหนึ่ง และมาตรา 6 (1) แห่งพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. 2558 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ประกาศนี้เรียกว่า “ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง ชื่อและอาการสำคัญของโรคติดต่ออันตราย (ฉบับที่ 7) พ.ศ.2563 นอกจากนี้ สถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงกัวลาลัมเปอร์ ได้ออกประกาศสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ฉบับที่ 2/2563 จากการที่มีคณะกิจกรรมพบปะทางศาสนา (ตับลีฆ) ที่มัสยิด ซือรี ปือตาลิง กรุงกัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย ระหว่างวันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2 มีนาคม พ.ศ. 2563 ซึ่งมีจำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรมกว่า 10,000 คน และต่อมาได้มีการตรวจพบผู้ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) หลังจากเข้าร่วมการชุมนุมดังกล่าว และที่สำคัญตามรายงานข่าวแจ้งว่ามีคนไทยเข้าร่วมกิจกรรมดังกล่าว จำนวน 132 คน ซึ่งส่วนใหญ่เป็นประชาชนจาก 5 จังหวัดชายแดนใต้ และมีรายงานการเข้ารายงานตัวเพื่อคัดกรองตรวจหาเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) อยู่ระหว่างการกักตัวภายใน 14 วัน ในภูมิลำเนาของตนเอง แม้ว่าความพยายามในการควบคุมโรค โดยการตรวจจับผู้ป่วยให้ได้อย่างรวดเร็ว แยกโรค และติดตามผู้สัมผัสผู้ป่วยทุกราย ทำให้การระบาดยังอยู่ในวงจำกัดในระยะที่ผ่านมา (Phase 2) อย่างไรก็ตาม ยังคงมีความเสี่ยงสูงที่ประเทศไทยจะพบการระบาดในวงกว้าง
เพื่อให้สามารถควบคุมการระบาดของโรคให้อยู่ในวงจำกัด ลดผลกระทบทางสุขภาพ รวมถึงสามารถดูแลประชาชนและผู้เดินทางจากต่างประเทศ ให้ปลอดภัยจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ตามหลักการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีความจำเป็นที่ต้องมีมาตรการเฝ้าระวัง ป้องกัน เน้นการชะลอการระบาด ลดผลกระทบ และเพื่อรับสถานการณ์การระบาดในระยะที่ 3 (Phase 3 widespread local transmission) กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทยพิจารณาแล้วเห็นว่า เพื่อการเฝ้าระวังและป้องกันการระบาดของโรคปอดอักเสบจากเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) จึงขอความร่วมมือจังหวัดแจ้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ดำเนินการตามพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 และที่แก้ไขเพิ่มเติม มาตรา 50 (4) เทศบาลมีอำนาจหน้าที่ในการป้องกันและระงับโรคติดต่อ มาตรา 54 (7) จัดทำกิจการ ซึ่งจำเป็นเพื่อการสาธารณสุข มาตรา 56 (3) กิจการอย่างอื่นซึ่งจำเป็นเพื่อการสาธารณสุข พระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2542 มาตรา 16 (19) เทศบาล องค์การบริหารส่วนตำบล และเมืองพัทยามีอำนาจหน้าที่ในการสาธารณสุข การอนามัยครอบครัวและการรักษาพยาบาล และตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ. 2561 ข้อ 10 (5) เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมกิจกรรมกรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติในพื้นที่ให้ทันต่อสถานการณ์ได้ ดังนั้น เพื่อเป็นการป้องกันการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ที่อาจเกิดขึ้นแก่ประชาชน ทางองค์การบริหารส่วนตำบลควนโนรี จึงได้จัดทำ โครงการอบต.ควนโนรี รู้เท่าทัน ป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เพื่อดำเนินการประชาสัมพันธ์ ป้องกัน และเฝ้าระวังควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา2019 (COVID-19) รวมถึงช่วยลดผลกระทบทางด้านสุขภาพ เศรษฐกิจสังคมและเพิ่มความมั่นใจให้กับประชาชนในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลควนโนรี
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนมีความรู้และเตรียมความพร้อมต่อมาตรการในการป้องกันและควบคุมโรคโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
- เพื่อเฝ้าระวังและป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1. กิจกรรมเสียงตามสายประชาสัมพันธ์ให้ความรู้วิธีการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
- 2. กิจกรรมคัดกรองบุคคลที่เสี่ยงต่อการติดเชื้อโรคไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในชุมชน
- 3. กิจกรรมทำความสะอาดสถานที่ราชการ และที่สาธารณะอื่นๆ
- กิจกรรมจัดหาอุปกรณ์ที่ใช้ในการป้องกันตนเองจากโรคติดเชื้อโรคไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 1,036 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชาชนมีความรู้มีความตระหนักและเห็นความสำคัญในการป้องกันโรคโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา
2019 (COVID-19)
- สามารถป้องกันและควบคุมการเกิดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในชุมชนได้
- ประชาชนและเจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติการในพื้นที่มีอุปกรณ์ป้องกันในการตนเองได้อย่างเพียงพอ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนมีความรู้และเตรียมความพร้อมต่อมาตรการในการป้องกันและควบคุมโรคโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ตัวชี้วัด : 1. ประชาชน ผู้ประกอบการอาหาร ร้านค้า และอาชีพให้บริการอื่นๆ ในพื้นที่ได้รับความรู้ และมีความพร้อมในการเฝ้าระวังป้องกันตนเองจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) 2. ประชาชนเกิดความตระหนักและสามารถป้องกันโรคระบาดโดยเริ่มจากตนเอง |
1036.00 | 1036.00 | 1,036.00 |
|
2 | เพื่อเฝ้าระวังและป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ตัวชี้วัด : 3. ประชาชนที่กลับจากพื้นที่เสี่ยงและมีอาการน่าสงสัยที่อาศัยในพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลควนโนรีได้รับการคัดกรอง ร้อยละ 80 4. ประชาชนและเจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติการในพื้นที่ได้รับอุปกรณ์ป้องกันในการตนเองได้อย่างเพียงพอ 5. ทำความสะอาดสถานที่ราชการ และที่สาธารณะอื่นๆ |
1036.00 | 1036.00 | 1,036.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 1036 | 1036 | |
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 0 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 1,036 | 1,036 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนมีความรู้และเตรียมความพร้อมต่อมาตรการในการป้องกันและควบคุมโรคโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) (2) เพื่อเฝ้าระวังและป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. กิจกรรมเสียงตามสายประชาสัมพันธ์ให้ความรู้วิธีการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) (2) 2. กิจกรรมคัดกรองบุคคลที่เสี่ยงต่อการติดเชื้อโรคไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในชุมชน (3) 3. กิจกรรมทำความสะอาดสถานที่ราชการ และที่สาธารณะอื่นๆ (4) กิจกรรมจัดหาอุปกรณ์ที่ใช้ในการป้องกันตนเองจากโรคติดเชื้อโรคไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการอบต.ควนโนรี รู้เท่าทัน ป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 63-l2974-05-28
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางมัรยัม เกษธิมา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......