กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวัง ควบคุม และป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
รหัสโครงการ 63-L5202-10(5)-02
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 5 สนับสนุนกรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติ
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานสาธารณสุขอื่นของ อปท. เช่น กองสาธารณสุขของเทศบาล
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ งานสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม สำนักปลัด องค์การบริหารส่วนตำบลประกอบ
วันที่อนุมัติ 10 มีนาคม 2563
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 20 มีนาคม 2563 - 30 กันยายน 2563
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2563
งบประมาณ 120,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ ว่าที่ ร.ต.หญิงฐิติมา ศรีสุข
พี่เลี้ยงโครงการ นางสาวธนัชชา โชติพนัง
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลประกอบ อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด 6.483,100.643place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 31 มี.ค. 2563 31 มี.ค. 2563 46,746.99
2 31 มี.ค. 2563 31 มี.ค. 2563 3,768.00
3 30 มี.ค. 2563 1 เม.ย. 2563 8,880.00
4 1 เม.ย. 2563 7 เม.ย. 2563 441.01
5 3 เม.ย. 2563 9 เม.ย. 2563 4,350.00
รวมงบประมาณ 64,186.00

คำเตือน : รวมงบประมาณของทุกงวด (64,186.00 บาท) ไม่เท่ากับ งบประมาณโครงการ (120,000.00 บาท)

stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 5500 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

ระบุ

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ด้วยสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือโรคโควิด 19 (Coronativirus Disease 2019 Z ( COVID-19)) ได้แพร่เชื้ออย่างรวดเร็วและกว้างขวางไปหลายประเทศทั่วโลกซึ่งมีผู้ติดเชื้อและสียชีวิตเป็นจำนวนมาก ประกอบกับเมื่อวันที่ 30 มกราคม 2563 องค์การอนามัยโลกได้ประกาศให้การระบาดของโรคดังกล่าวเป็นภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขระหว่างประเทศ (Puplic health emergency of international concern (PHEIC)) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขโดยคำแนะนำของคณะกรรมการโรคติดต่อแห่งชาติจึงได้ประกาศให้โรคติดเชื่อไวรัสโคโรนา 2019 หรือโรคโควิด 19 เป็นโรคติดต่ออันตราย ตามพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. 2558 อย่างไรก็ดี ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีความเสี่ยงที่จะเกิดการติดต่อของโรคดังกล่าวที่มากับผู้เดินทางเข้ามาภายในราชอาณาจักร และเพื่อให้การเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคดังกล่าวเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ระฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขโโยคำแนะนำของคณะกรรมการด้านวิชาการ จึงเห็นสมควรประกาศกำหนดให้ท้องที่นอกราชอาณาจักรที่เกิดการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือโรคโควิด 19 เป็นเขตติดโรคติดต่ออันตรายตามพระราบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. 2558

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อให้มีทรัพยากรเพียงพอต่อการสนับสนุนการดำเนินการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคติดเชื่อไวรัสโคโรนา 2019

บุคลากรมีวัสดุ อุปกรณ์ ในการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมการระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019

50.00
2 2. เพื่อส่งเสริมให้เจ้าหน้าที่ และประชาชนสามารถป้องกันโรคระบาดด้วยตนเอง

 

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม

เพื่อจัดซื้อวัสดุ อุปกรณ์ในการปฏิบัติงานของบุคลากรที่ปฏิบัติงาน ใช้ในการป้องกัน การควบคุมการแพร่และการระบาดของโรคติดเชื่อไวรัสโคโรนา 2019 และโรคระบาดต่างๆ ได้แก่ วัสดุอุปกรณ์ในการป้องกันเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ของกู้ชีพ เช่น น้ำยาฆ่าเชื้อ น้ำยาซักผ้าขาว(สำหรับผสมน้ำ เพื่อใช้เป็นน้ำยาฆ่าเชื้อ) ถุงขยะ ถังขยะเพื่อรองรับขยะติดเชื้อ ถังน้ำ ถุงมือยาง แว่นตา เสื้อกันฝน รองเท้าหุ้มส้นสูงใต้เข่า ผ้ายางกันเปื้อน เจลแอลกอฮอล์สำหรับล้างมือ เครื่องเทอร์โมมิเตอร์ตรวจวัดอุณหภูมิร่างกาย เครื่องพ่นน้ำยาฆ่าเชื่อ เครื่องแต่งกายสำหรับปฏิบัติงานป้องกันโรค วัสดุอื่นๆ ที่จำเป็นต้องใช้ในการป้องกัน ฯลฯ เป็นต้น

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

บุคลากร มีวัสดุอุปกรณ์ในการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมการระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 อย่างเพียงพอ

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 30 มี.ค. 2563 14:08 น.