กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งยาว


“ โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคขาดสารไอโอดีน ”

ตำบลทุ่งยาว อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นางสาวอัจฉรา ชูอ่อน

ชื่อโครงการ โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคขาดสารไอโอดีน

ที่อยู่ ตำบลทุ่งยาว อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 60-L8018-01-13 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2560 ถึง 31 สิงหาคม 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคขาดสารไอโอดีน จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งยาว อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งยาว ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคขาดสารไอโอดีน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคขาดสารไอโอดีน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งยาว อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 60-L8018-01-13 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2560 - 31 สิงหาคม 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,515.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งยาว เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ภาวะขาดสารไอโอดีน เป็นภาวะโภชนาการที่เกิดขึ้นกับประชากรทั่วโลกและเป็นสาเหตุที่พบบ่อยที่สุดของภาวะปัญญาอ่อนและความเสียหายต่อสมองการได้รับสารไอโอดีนไม่พอของหญิงตั้งครรภ์ จะส่งผลให้เกิดความด้อยของสมองในทารกและเด็ก รวมทั้งสภาพร่างกายแคระแกร็นและมีความเสี่ยงต่อการแท้งบุตรสูง ส่วนเด็กที่ไม่ได้รับสารไอโอดีนเพียงพอจะมีสมองและร่างกายที่เติบโตช้ากว่าปกติ ซึ่งอาจส่งผลทำให้หยุดการเจริญเติบโตและมีส่วนทำให้ไอคิวของเด็กต่ำลง อาการผิดปกติเหล่านี้เป็นสิ่งที่สามารถป้องกันได้ เพื่อขจัดโรคขาดสารไอโอดีนที่ส่งผลต่อการพัฒนาสติปัญญาของเด็กไทยด้วยการส่งเสริมการบริโภคเกลือ ไอโอดีนในระดับชุมชนให้ทุกครัวเรือนได้บริโภคเกลือไอโอดีนที่มีคุณภาพอย่างเพียงพอกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลตำบลทุ่งยาว จึงจัดทำโครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคขาดสารไอโอดีนขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ความรู้เรื่องการควบคุมป้องกันโรคขาดสารไอโอดีน
  2. เพื่อรณรงค์การบริโภคเกลือเสริมไอโอดีน
  3. เพื่อสุ่มตรวจคุณภาพเกลือเสริมไอโอดีนที่ใช้ในชุมชน
  4. ประชุมคณะทำงานเพื่อติดตามและขับเคลื่อนนโยบายและมาตรการควบคุมป้องกันโรคขาดสารไอโอดีน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 120
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ประชาชนในเขตเทศบาลมีความรู้ เรื่อง การควบคุมป้องกันโรคขาดสารไอโอดีนเพิ่มขึ้น
      1. คุณภาพเกลือเสริมไอโอดีนที่ใช้อยู่ในครัวเรือนอยู่ในระดับเกณฑ์มาตรฐาน
      2. ประชาชนมีการบริโภคเกลือเสริมไอโอดีน

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. ให้ความรู้และรณรงค์ เรื่อง การควบคุมป้องกันโรคขาดสารไอโอดีน จำนวน 1 วัน

    วันที่ 23 มิถุนายน 2560 เวลา 08:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ประชาชนในเขตเทศบาลมีความรู้ เรื่อง การควบคุมป้องกันโรคขาดสารไอโอดีนเพิ่มขึ้น 

     

    84 84

    2. สุ่มตรวจคุณภาพเกลือเสริมไอโอดีน ครัวเรือน ร้านค้า แผงลอย โรงเรียน

    วันที่ 23 มิถุนายน 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    กิจกรรม สุ่มตรวจคุณภาพเกลือเสริมไอโอดีน  โดย อาสาสมัครสาธารณสุขเทศบาลตำบลทุ่งยาว ลงพื้นที่สุ่มตรวจคุณภาพเกลือในชุมชน ผลการสำรวจ พบว่า คุณภาพเกลือที่ใช้ อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน ข้อมูลการสำรวจมีดังต่อไปนี้
                      ชุมชนอนามัย
                      - ร้านค้า /ร้านขายของชำ  เป้าหมาย  7  แห่ง  สำรวจ  7 แห่ง  คิดเป็นร้อยละ 100                   - ครัวเรือน    เป้าหมาย  187  ครัวเรือน  สำรวจ  172  ครัวเรือน  คิดเป็นร้อยละ 91.98                   - แผงลอย       เป้าหมาย  13  ร้าน  สำรวจ  13  ร้าน  คิดเป็นร้อยละ 100                   - โรงเรียน    เป้าหมาย  1  แห่ง  สำรวจ  1  แหล่ง  คิดเป็นร้อยละ 100 ชุมชนตลาด
    - ร้านค้า /ร้านขายของชำ  เป้าหมาย  21  แห่ง  สำรวจ  21 แห่ง  คิดเป็นร้อยละ 100                   - ครัวเรือน    เป้าหมาย  209  ครัวเรือน  สำรวจ  203  ครัวเรือน  คิดเป็นร้อยละ 97.13                   - ร้านอาหาร/แผงลอย  เป้าหมาย  17  ร้าน  สำรวจ  17  ร้าน  คิดเป็นร้อยละ 100                                                       - 2 -
    ชุมชนสหธรรม
    - ร้านค้า /ร้านขายของชำ  เป้าหมาย  6  แห่ง  สำรวจ  6 แห่ง  คิดเป็นร้อยละ 100                   - ครัวเรือน    เป้าหมาย  220  ครัวเรือน  สำรวจ  208  ครัวเรือน  คิดเป็นร้อยละ 94.54                     - แผงลอย    เป้าหมาย  18  ร้าน  สำรวจ  18  ร้าน  คิดเป็นร้อยละ 100                   - โรงเรียน    เป้าหมาย  1  แห่ง  สำรวจ  1  แหล่ง  คิดเป็นร้อยละ 100                   - ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก  เป้าหมาย  1  แห่ง  สำรวจ  1  แหล่ง  คิดเป็นร้อยละ 100

     

    701 701

    3. รณรงค์ประชาสัมพันธ์ เรื่อง การควบคุมป้องกันโรคขาดสารไอโอดีนในชุมชน โดยการเดินรณรงค์ให้ความรู้ แจกแผ่นพับ ป้ายไวนิล เนื่องในวันไอโอดีนแห่งชาติ

    วันที่ 23 มิถุนายน 2560 เวลา 15:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    รณรงค์ประชาสัมพันธ์ เรื่อง การควบคุมป้องกันโรคขาดสารไอโอดีนในชุมชน โดยการเดินรณรงค์ให้ความรู้ แจกแผ่นพับ ป้ายไวนิล เนื่องในวันไอโอดีนแห่งชาติ

     

    700 701

    4. ประชุมคณะทำงานเพื่อติดตามและขับเคลื่อนนโยบายและมาตรการควบคุมป้องกันโรคขาดสารไอโอดีน มีคณะทำงานเข้าร่วมการประชุม จำนวน 40 คน

    วันที่ 5 กรกฎาคม 2560 เวลา 10:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    กิจกรรม ประชุมคณะทำงานเพื่อติดตามและขับเคลื่อนนโยบายและมาตรการควบคุมป้องกันโรคขาดสารไอโอดีน มีคณะทำงานเข้าร่วมการประชุม จำนวน 40 คน ในวันที่ 5 กรกฎาคม 2560 ณ ห้องประชุม สำนักงานเทศบาลตำบลทุ่งยาว สรุปเนื้อหาในการประชุมมีดังนี้                   - ประกาศนโยบายสาธารณะและมาตรการการควบคุมโรคขาดสารไอโอดีน                   - แต่งตั้งคณะทำงานเพื่อกำหนดนโยบายและมาตรการการควบคุมป้องกันโรคขาดสารไอโอดีน                     ระดับองค์กร/ระดับชุมชน                     - การรับการประเมินเป็น “ชุมชนไอโอดีน”

     

    40 40

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    1. กิจกรรม ให้ความรู้และรณรงค์ เรื่อง การควบคุมป้องกันโรคขาดสารไอโอดีน จำนวน 1 วัน ในวันที่ 23 มิถุนายน 2560  มีกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 84 คน
    2. กิจกรรม สุ่มตรวจคุณภาพเกลือเสริมไอโอดีน  โดย อาสาสมัครสาธารณสุขเทศบาลตำบลทุ่งยาว ลงพื้นที่สุ่มตรวจคุณภาพเกลือในชุมชน ผลการสำรวจ พบว่า คุณภาพเกลือที่ใช้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน
    3. รับการประเมินผลการดำเนินงานชุมชนไอโอดีน จากคณะกรรมการประเมินผลจากสาธารณสุขอำเภอปะเหลียน ร่วมกับ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งยาว ผลการประเมิน ดังนี้
                      ชุมชนสหธรรม  ผลการประเมิน  ผ่านเกณฑ์การประเมินอยู่ในระดับดี  คะแนนเฉลี่ย 3.88
                      ชุมชนอนามัย  ผลการประเมิน  ผ่านเกณฑ์การประเมินอยู่ในระดับดี  คะแนนเฉลี่ย 3.86
                      ชุมชนตลาด    ผลการประเมิน  ผ่านเกณฑ์การประเมินอยู่ในระดับดี  คะแนนเฉลี่ย 3.83

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้ความรู้เรื่องการควบคุมป้องกันโรคขาดสารไอโอดีน
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ เรื่อง การควบคุมป้องกันโรคขาดสารไอโอดีนเพิ่มขึ้น

     

    2 เพื่อรณรงค์การบริโภคเกลือเสริมไอโอดีน
    ตัวชี้วัด : ประชาชนมีการบริโภคเกลือเสริมไอโอดีน และผ่านการประเมินเป็น “ชุมชนไอโอดีน”

     

    3 เพื่อสุ่มตรวจคุณภาพเกลือเสริมไอโอดีนที่ใช้ในชุมชน
    ตัวชี้วัด : คุณภาพเกลือเสริมไอโอดีนที่ใช้ในครัวเรือนอยู่ในระดับเกณฑ์มาตรฐาน

     

    4 ประชุมคณะทำงานเพื่อติดตามและขับเคลื่อนนโยบายและมาตรการควบคุมป้องกันโรคขาดสารไอโอดีน
    ตัวชี้วัด : ประชาชนมีการบริโภคเกลือเสริมไอโอดีน และผ่านการประเมินเป็น “ชุมชนไอโอดีน”

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 120
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 120
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ความรู้เรื่องการควบคุมป้องกันโรคขาดสารไอโอดีน (2) เพื่อรณรงค์การบริโภคเกลือเสริมไอโอดีน (3) เพื่อสุ่มตรวจคุณภาพเกลือเสริมไอโอดีนที่ใช้ในชุมชน (4) ประชุมคณะทำงานเพื่อติดตามและขับเคลื่อนนโยบายและมาตรการควบคุมป้องกันโรคขาดสารไอโอดีน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคขาดสารไอโอดีน จังหวัด ตรัง

    รหัสโครงการ 60-L8018-01-13

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวอัจฉรา ชูอ่อน )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด