โครงการสาธิตอาหารเมนูน้อยจากมือแม่ ตำบลบูกิต
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการสาธิตอาหารเมนูน้อยจากมือแม่ ตำบลบูกิต ”
ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางสาวซูฮัยนี เจ๊ะโมะ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต
ธันวาคม 2560
ชื่อโครงการ โครงการสาธิตอาหารเมนูน้อยจากมือแม่ ตำบลบูกิต
ที่อยู่ ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 60-L2479-1-2 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2560 ถึง 31 ธันวาคม 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการสาธิตอาหารเมนูน้อยจากมือแม่ ตำบลบูกิต จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการสาธิตอาหารเมนูน้อยจากมือแม่ ตำบลบูกิต
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการสาธิตอาหารเมนูน้อยจากมือแม่ ตำบลบูกิต " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 60-L2479-1-2 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2560 - 31 ธันวาคม 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 26,725.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
เด็กเป็นทรัพยากรที่มีคุณค่าและเป็นรากฐานที่สำคัญต่อการพัฒนาประเทศ เด็กที่มีคุณภาพคือเด็กที่มีการเจริญเติบโตสมวัย พัฒนาการสมบูรณ์ทั้งทางด้านร่างกายสติปัญญาจิตใจ อารมณ์ และสังคม ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อพัฒนาการเด็กเด็กในวัยนี้ถูกละเลยไม่ได้รับการเอาใจใส่ด้านโภชนาการจะส่งผลทำให้ร่างกายและสมองเติบโตช้า ผลที่ตามมาคือโรคขาดสารอาหาร ทำให้พัฒนาการและการเรียนรู้ล่าช้าด้อยกว่าเด็กตามเกณฑ์ที่อยู่ในวัยเดียวกัน และเด็กที่ขาดสารอาหารจะมีผลทำให้ภูมิต้านทานโรคต่ำ เด็กจะเจ็บป่วยบ่อย เกิดโรคแทรกซ้อนได้ง่ายเด็กในวัยนี้จะเป็นทรัพยากรบุคคลที่สำคัญต่อการพัฒนาประเทศหากยังปล่อยเด็กในวัยนี้ขาดสารอาหาร อาจส่งผลกระทบทุกๆด้าน การเฝ้าระวังภาวะโภชนาการของเด็กแรกเกิด – ๓ปี ด้านโภชนาการสำคัญที่สุด เพื่อให้เด็กได้รับการส่งเสริมภาวะโภชนาการทีดี
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ๑.เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กมีส่วนร่วมในการแก้ปัญหาที่เกี่ยวกับเด็ก ๐– ๓ ปีด้านการส่งเสริมสุขภาพ
- ๒.เด็ก ๐ – ๓ ปีในพื้นที่มีน้ำหนัก และพัฒนาการสมวัย
- ๓.เพื่อให้ผู้ปกครอง มีความรู้ด้านการดูแลสุขภาพเด็ก ด้านโภชนาการ และมีทักษะในการดูแลส่งผลให้ผู้ปกครองเด็กเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในการดูแลเด็กแรกเกิด – ๓ปี ไปในทางที่ถูกต้อง และเหมาะสม
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
60
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑.ผู้ปกครองเด็กมีความรู้ความเข้าใจในการส่งเสริมโภชนาการเพื่อป้องกันภาวะขาดสารอาหาร
๒. เด็ก ๐-๓ ปีมีภาวะโภชนาการที่ดีขึ้น
๓.เด็กในพื้นที่ตำบลบูกิต มีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรง
๔.ลดอัตราการเป็นโรคที่เกี่ยวกับการขาดสารอาหารในเด็ก ๐ – ๓ ปีในพื้นที่ตำบลบูกิต
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. อบรมผู้ปกครองเด็กแรกเกิด – ๓ปี ที่มีภาวะทุพโภชนาการ (น้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ )รายละเอียดดังนี้
วันที่ 10 พฤศจิกายน 2560 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1.1 เชิงปริมาณ
- ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 60 คน ผู้เข้าอบรม 60 คน ได้ผลงาน ผ่านการอบรมร้อยละ 100
- เด็ก0-3ปีมีน้ำหนักตามเกณฑ์
1.2 เชิงคุณภาพ
- ผู้ปกครองเด็กมีความเข้าใจในเนื้อหา
- ผู้ปกครองเด็ก มีความรู้ด้านการดูแลสุขภาพเด็ก ด้านโภชนาการ และมีทักษะในการดูแล
- ผู้ปกครองเด็กเกิดกานเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในการดูแลเด็กไปในทางที่ถูกต้อง และเหมาะสม
60
60
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลการดำเนินงาน
หน่วยงานที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านไอสะเตีย
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวซูฮัยนี เจ๊ะโมะ
วันที่/สถานที่จัดกิจกรรม วันที่ ๑๐ พฤศจิกายน ๒๕๖๐
ณ.องค์การบริหารส่วนตำบลบูกิต
๑. ผลที่ได้จากการดำเนินงาน
๑.๑ เชิงปริมาณ
- ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน ๖๐ คน ผู้เข้าอบรม ๖๐ คน ได้ผลงาน ผ่านการอบรมร้อยละ ๑๐๐
- เด็ก๐-๓ปีมีน้ำหนักตามเกณฑ์
๑.๒ เชิงคุณภาพ
- ผู้ปกครองเด็กมีความเข้าใจในเนื้อหา
- ผู้ปกครองเด็ก มีความรู้ด้านการดูแลสุขภาพเด็ก ด้านโภชนาการ และมีทักษะในการดูแล
- ผู้ปกครองเด็กเกิดกานเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในการดูแลเด็กไปในทางที่ถูกต้อง และเหมาะสม
๒. ผลการใช้จ่ายงบประมาณ ระบุแหล่งงบประมาณและค่าใช้จ่ายตามประเภท เช่น ค่าตอบแทน ค่าใช้สอบ ค่าวัสดุ ฯลฯ
สนับสนุนงบประมาณโครงการฯจากกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลบูกิต จำนวน ๒๖,๗๒๕ บาท รายละเอียด ดังนี้
กิจกรรมที่ ๑ จัดอบรม และสาธิตอาหารให้แก่ผู้ปกครองเด็กแรกเกิด-๓ปีที่มีภาวะทุพโภชนาการ
- ค่าวิทยากร ๑คน x๔ ชม. x ๖๐๐ บาท เป็นเงิน ๒,๔๐๐บาท
- ค่าอาหารกลางวัน ๖๐คน x ๕๐ บาท เป็นเงิน ๓,๐๐๐ บาท
- ค่าอาหารว่าง ๖๐ คน x๒มื้อ x๒๕ บาท เป็นเงิน ๓,๐๐๐ บาท
- ค่าวัสดุประชาสัมพันธ์และโฆษณา เป็นเงิน ๑,๑๒๕ บาท
- ค่าวัสดุและอุปกรณ์การอบรม เป็นเงิน ๔,๐๐๐ บาท
รวมเป็นเงิน ๑๓,๕๒๕ บาท
กิจกรรมที่ ๒ จ่ายอาหารเสริม
- จ่ายยาวิตามินเสริมธาตุเหล็กให้แก่เด็ก๐-๓ปีที่มีน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์(ได้รับสนับสนุนจาก รพ.เจาะไอร้อง)
- จ่ายยาถ่ายพยาธิให้แก่เด็ก๒-๓ปีทุกคน(ได้รับสนับสนุนจาก รพ.เจาะไอร้อง)
- ค่าค่าอาหารเสริม(ไข่) ๖๐คน x ๒แผง x ๑๑๐ บาท เป็นเงิน ๑๓,๒๐๐ บาท
รวมเป็นเงินทั้งสิ้น ๒๖,๗๒๕ บาท (สองหมื่นหกพันเจ็ดร้อยยี่สิบห้าบาทถ้วน)
-ทุกรายการสามารถถัวเฉลี่ยกันได้
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
๑.เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กมีส่วนร่วมในการแก้ปัญหาที่เกี่ยวกับเด็ก ๐– ๓ ปีด้านการส่งเสริมสุขภาพ
ตัวชี้วัด :
2
๒.เด็ก ๐ – ๓ ปีในพื้นที่มีน้ำหนัก และพัฒนาการสมวัย
ตัวชี้วัด :
3
๓.เพื่อให้ผู้ปกครอง มีความรู้ด้านการดูแลสุขภาพเด็ก ด้านโภชนาการ และมีทักษะในการดูแลส่งผลให้ผู้ปกครองเด็กเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในการดูแลเด็กแรกเกิด – ๓ปี ไปในทางที่ถูกต้อง และเหมาะสม
ตัวชี้วัด :
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
60
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
60
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑.เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กมีส่วนร่วมในการแก้ปัญหาที่เกี่ยวกับเด็ก ๐– ๓ ปีด้านการส่งเสริมสุขภาพ (2) ๒.เด็ก ๐ – ๓ ปีในพื้นที่มีน้ำหนัก และพัฒนาการสมวัย (3) ๓.เพื่อให้ผู้ปกครอง มีความรู้ด้านการดูแลสุขภาพเด็ก ด้านโภชนาการ และมีทักษะในการดูแลส่งผลให้ผู้ปกครองเด็กเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในการดูแลเด็กแรกเกิด – ๓ปี ไปในทางที่ถูกต้อง และเหมาะสม
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการสาธิตอาหารเมนูน้อยจากมือแม่ ตำบลบูกิต จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 60-L2479-1-2
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวซูฮัยนี เจ๊ะโมะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการสาธิตอาหารเมนูน้อยจากมือแม่ ตำบลบูกิต ”
ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางสาวซูฮัยนี เจ๊ะโมะ
ธันวาคม 2560
ที่อยู่ ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 60-L2479-1-2 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2560 ถึง 31 ธันวาคม 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการสาธิตอาหารเมนูน้อยจากมือแม่ ตำบลบูกิต จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการสาธิตอาหารเมนูน้อยจากมือแม่ ตำบลบูกิต
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการสาธิตอาหารเมนูน้อยจากมือแม่ ตำบลบูกิต " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 60-L2479-1-2 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2560 - 31 ธันวาคม 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 26,725.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
เด็กเป็นทรัพยากรที่มีคุณค่าและเป็นรากฐานที่สำคัญต่อการพัฒนาประเทศ เด็กที่มีคุณภาพคือเด็กที่มีการเจริญเติบโตสมวัย พัฒนาการสมบูรณ์ทั้งทางด้านร่างกายสติปัญญาจิตใจ อารมณ์ และสังคม ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อพัฒนาการเด็กเด็กในวัยนี้ถูกละเลยไม่ได้รับการเอาใจใส่ด้านโภชนาการจะส่งผลทำให้ร่างกายและสมองเติบโตช้า ผลที่ตามมาคือโรคขาดสารอาหาร ทำให้พัฒนาการและการเรียนรู้ล่าช้าด้อยกว่าเด็กตามเกณฑ์ที่อยู่ในวัยเดียวกัน และเด็กที่ขาดสารอาหารจะมีผลทำให้ภูมิต้านทานโรคต่ำ เด็กจะเจ็บป่วยบ่อย เกิดโรคแทรกซ้อนได้ง่ายเด็กในวัยนี้จะเป็นทรัพยากรบุคคลที่สำคัญต่อการพัฒนาประเทศหากยังปล่อยเด็กในวัยนี้ขาดสารอาหาร อาจส่งผลกระทบทุกๆด้าน การเฝ้าระวังภาวะโภชนาการของเด็กแรกเกิด – ๓ปี ด้านโภชนาการสำคัญที่สุด เพื่อให้เด็กได้รับการส่งเสริมภาวะโภชนาการทีดี
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ๑.เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กมีส่วนร่วมในการแก้ปัญหาที่เกี่ยวกับเด็ก ๐– ๓ ปีด้านการส่งเสริมสุขภาพ
- ๒.เด็ก ๐ – ๓ ปีในพื้นที่มีน้ำหนัก และพัฒนาการสมวัย
- ๓.เพื่อให้ผู้ปกครอง มีความรู้ด้านการดูแลสุขภาพเด็ก ด้านโภชนาการ และมีทักษะในการดูแลส่งผลให้ผู้ปกครองเด็กเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในการดูแลเด็กแรกเกิด – ๓ปี ไปในทางที่ถูกต้อง และเหมาะสม
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 60 | |
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑.ผู้ปกครองเด็กมีความรู้ความเข้าใจในการส่งเสริมโภชนาการเพื่อป้องกันภาวะขาดสารอาหาร
๒. เด็ก ๐-๓ ปีมีภาวะโภชนาการที่ดีขึ้น
๓.เด็กในพื้นที่ตำบลบูกิต มีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรง
๔.ลดอัตราการเป็นโรคที่เกี่ยวกับการขาดสารอาหารในเด็ก ๐ – ๓ ปีในพื้นที่ตำบลบูกิต
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. อบรมผู้ปกครองเด็กแรกเกิด – ๓ปี ที่มีภาวะทุพโภชนาการ (น้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ )รายละเอียดดังนี้ |
||
วันที่ 10 พฤศจิกายน 2560 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1.1 เชิงปริมาณ
|
60 | 60 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลการดำเนินงาน
หน่วยงานที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านไอสะเตีย
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวซูฮัยนี เจ๊ะโมะ
วันที่/สถานที่จัดกิจกรรม วันที่ ๑๐ พฤศจิกายน ๒๕๖๐
ณ.องค์การบริหารส่วนตำบลบูกิต
๑. ผลที่ได้จากการดำเนินงาน
๑.๑ เชิงปริมาณ
- ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน ๖๐ คน ผู้เข้าอบรม ๖๐ คน ได้ผลงาน ผ่านการอบรมร้อยละ ๑๐๐
- เด็ก๐-๓ปีมีน้ำหนักตามเกณฑ์
๑.๒ เชิงคุณภาพ
- ผู้ปกครองเด็กมีความเข้าใจในเนื้อหา
- ผู้ปกครองเด็ก มีความรู้ด้านการดูแลสุขภาพเด็ก ด้านโภชนาการ และมีทักษะในการดูแล
- ผู้ปกครองเด็กเกิดกานเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในการดูแลเด็กไปในทางที่ถูกต้อง และเหมาะสม
๒. ผลการใช้จ่ายงบประมาณ ระบุแหล่งงบประมาณและค่าใช้จ่ายตามประเภท เช่น ค่าตอบแทน ค่าใช้สอบ ค่าวัสดุ ฯลฯ
สนับสนุนงบประมาณโครงการฯจากกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลบูกิต จำนวน ๒๖,๗๒๕ บาท รายละเอียด ดังนี้
กิจกรรมที่ ๑ จัดอบรม และสาธิตอาหารให้แก่ผู้ปกครองเด็กแรกเกิด-๓ปีที่มีภาวะทุพโภชนาการ
- ค่าวิทยากร ๑คน x๔ ชม. x ๖๐๐ บาท เป็นเงิน ๒,๔๐๐บาท
- ค่าอาหารกลางวัน ๖๐คน x ๕๐ บาท เป็นเงิน ๓,๐๐๐ บาท
- ค่าอาหารว่าง ๖๐ คน x๒มื้อ x๒๕ บาท เป็นเงิน ๓,๐๐๐ บาท
- ค่าวัสดุประชาสัมพันธ์และโฆษณา เป็นเงิน ๑,๑๒๕ บาท
- ค่าวัสดุและอุปกรณ์การอบรม เป็นเงิน ๔,๐๐๐ บาท
รวมเป็นเงิน ๑๓,๕๒๕ บาท
กิจกรรมที่ ๒ จ่ายอาหารเสริม
- จ่ายยาวิตามินเสริมธาตุเหล็กให้แก่เด็ก๐-๓ปีที่มีน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์(ได้รับสนับสนุนจาก รพ.เจาะไอร้อง)
- จ่ายยาถ่ายพยาธิให้แก่เด็ก๒-๓ปีทุกคน(ได้รับสนับสนุนจาก รพ.เจาะไอร้อง)
- ค่าค่าอาหารเสริม(ไข่) ๖๐คน x ๒แผง x ๑๑๐ บาท เป็นเงิน ๑๓,๒๐๐ บาท
รวมเป็นเงินทั้งสิ้น ๒๖,๗๒๕ บาท (สองหมื่นหกพันเจ็ดร้อยยี่สิบห้าบาทถ้วน) -ทุกรายการสามารถถัวเฉลี่ยกันได้
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | ๑.เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กมีส่วนร่วมในการแก้ปัญหาที่เกี่ยวกับเด็ก ๐– ๓ ปีด้านการส่งเสริมสุขภาพ ตัวชี้วัด : |
|
|||
2 | ๒.เด็ก ๐ – ๓ ปีในพื้นที่มีน้ำหนัก และพัฒนาการสมวัย ตัวชี้วัด : |
|
|||
3 | ๓.เพื่อให้ผู้ปกครอง มีความรู้ด้านการดูแลสุขภาพเด็ก ด้านโภชนาการ และมีทักษะในการดูแลส่งผลให้ผู้ปกครองเด็กเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในการดูแลเด็กแรกเกิด – ๓ปี ไปในทางที่ถูกต้อง และเหมาะสม ตัวชี้วัด : |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 60 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 60 | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑.เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กมีส่วนร่วมในการแก้ปัญหาที่เกี่ยวกับเด็ก ๐– ๓ ปีด้านการส่งเสริมสุขภาพ (2) ๒.เด็ก ๐ – ๓ ปีในพื้นที่มีน้ำหนัก และพัฒนาการสมวัย (3) ๓.เพื่อให้ผู้ปกครอง มีความรู้ด้านการดูแลสุขภาพเด็ก ด้านโภชนาการ และมีทักษะในการดูแลส่งผลให้ผู้ปกครองเด็กเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในการดูแลเด็กแรกเกิด – ๓ปี ไปในทางที่ถูกต้อง และเหมาะสม
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการสาธิตอาหารเมนูน้อยจากมือแม่ ตำบลบูกิต จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 60-L2479-1-2
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวซูฮัยนี เจ๊ะโมะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......