กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลยะรัง


“ โครงการควบคุมป้องกันดูแลผู้เข้าข่ายการกักตัว กักกัน คุมไว้สังเกตอาการการระบาดของไวรัส โคโรนาสายพันธุ์ใหม่2019(Local Quarantine) ”

ตำบลยะรัง อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางสาวนูรีฮัน มูนิ๊

ชื่อโครงการ โครงการควบคุมป้องกันดูแลผู้เข้าข่ายการกักตัว กักกัน คุมไว้สังเกตอาการการระบาดของไวรัส โคโรนาสายพันธุ์ใหม่2019(Local Quarantine)

ที่อยู่ ตำบลยะรัง อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 63-L8286-5-04 เลขที่ข้อตกลง 9/63

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 31 มีนาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการควบคุมป้องกันดูแลผู้เข้าข่ายการกักตัว กักกัน คุมไว้สังเกตอาการการระบาดของไวรัส โคโรนาสายพันธุ์ใหม่2019(Local Quarantine) จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลยะรัง อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลยะรัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการควบคุมป้องกันดูแลผู้เข้าข่ายการกักตัว กักกัน คุมไว้สังเกตอาการการระบาดของไวรัส โคโรนาสายพันธุ์ใหม่2019(Local Quarantine)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการควบคุมป้องกันดูแลผู้เข้าข่ายการกักตัว กักกัน คุมไว้สังเกตอาการการระบาดของไวรัส โคโรนาสายพันธุ์ใหม่2019(Local Quarantine) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลยะรัง อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 63-L8286-5-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 31 มีนาคม 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 92,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลยะรัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ หรือที่เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า "โรคอู่ฮั่น" ที่กำลังระบาดอยู่ในขณะนี้ มีความรุนแรงเทียบเท่ากับโรคซาร์สมากที่สุด ทำให้ผู้ป่วยมีอาการปอดอักเสบรุนแรงจนถึงแก่ชีวิตได้ องค์การอนามัยโลก ยังไม่สามารถหาที่มาของเชื้ออย่างชัดเจนได้ แต่สันนิษฐานว่าอาจจะมาจากเนื้อสัตว์ป่าที่ซื้อขายอยู่ และปัจจุบันเชื้อไวรัสนี้สามารถแพร่กระจายจากคนสู่คนได้แล้ว จากการถูกไอ จาม หรือสัมผัสกับสารคัดหลั่งของคนที่ป่วย ดังนั้น เราควรดูแลตนเองเพื่อให้ร่างกายห่างไกลจากเชื้อไวรัสโคโรนา จากสถานการณ์ทั่วโลกใน 17 ประเทศ และ 2 เขตปกครองพิเศษ ข้อมูล ตั้งแต่ 5 มกราคม 2563 ถึงวันที่ 29 มกราคม 2563 พบผู้ป่วย 6,066 ราย ส่วนประเทศจีน ข้อมูล ณ วันที่ 27 มกราคม 2563 พบผู้ป่วย 5,974 ราย เสียชีวิต 132 ราย ปัจจุบันสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคปอดติดเชื้อจากไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019 ในหลายประเทศสร้างความกังวลให้กับประชาชน จากข้อมูล ณ วันที่ 23 มีนาคม 2563 ในประเทศไทยกระทรวงสาธารณสุข รายงานจำนวนผู้ป่วยยืนยันติดเชื้อในประเทศไทย เพิ่มขึ้น 122 ราย ทำให้จำนวนสะสมอยู่ที่ 721 ราย ในจำนวนนี้ 52 ราย รักษาหายแล้ว และ 668 ราย ยังคงรับการรักษาอยู่ที่โรงพยาบาล โดยมีผู้ป่วยอาการหนัก 7 ราย มีผู้ป่วยเข้าเกณฑ์สอบสวนโรคต้องเฝ้าระวัง ตั้งแต่วันที่ 3 มกราคม 2563 ถึง 29 มกราคม 2563 มีผู้ป่วยเข้าเกณฑ์สอบสวนต้องเฝ้าระวังสะสมทั้งหมด 202 ราย คัดกรองจากสนามบิน 31 ราย มารับการรักษาที่โรงพยาบาลเอง 171 ราย อนุญาตให้กลับบ้านได้แล้ว 67 ราย ส่วนใหญ่ติดเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่ตามฤดูกาล ยังคงรักษาในโรงพยาบาล 135 ราย
ข้อมูลสถานการณ์วันที่ 31 มีนาคม 2563 ในพื้นที่ชุมชนแนบาแด หมู่ 5 ต.ยะรัง อ.ยะรัง จ.ปัตตานี เป็นพื้นที่รับผิดชอบเทศบาลตำบลยะรัง มีรายงานว่ามีเสียชีวิตจำนวน 1 ราย และเข้ารักษาตัวที่โรงพยาบาลยะรังจำนวน 7 ราย และยังพบผู้ป่วยเข้าเกณฑ์สอบสวนโรครายใหม่จำนวน 5 ราย ซึ่งมีประวัติเดินทางกลับมาจากประเทศมาเลเซียในวันที่ 1 เมษายน 2563 ซึ่งแนวทางมาตรการการควบคุมป้องกันการระบาดในพื้นที่จึงต้องดำเนินการจัดเตรียมสถานที่ควบคุมและสังเกตอาการ( Local Quarantine)ประจำเทศบาลตำบลยะรังเป็นเวลา 14 วัน และขณะนี้ในเขตพื้น บ้านแนบาแด หมู่ 5ต.ยะรัง ได้มีการปิดพื้นที่ห้ามเข้า-ออกในบริเวณพื้นที่ดังกล่าวและได้จัดตั้งเวรตรวจคัดกรองในจุดดังกล่าว เพื่อไม่ให้ประชาชนในบริเวณพื้นที่ดังกล่าวมีการเข้า – ออกโดยเด็ดขาดและเพื่อควบคุมป้องกันการแพร่ระบาดไปยังพื้นที่อื่นอีกด้วย
ดังนั้น คณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลยะรัง จึงเห็นความสำคัญของปัญหาที่จะเกิดขึ้นกับประชาชนในพื้นที่จึงขอดำเนินโครงการรณรงค์ป้องกันไวรัสโคโรน่าสายพันธุ์ใหม่ โดยดำเนินกิจกรรมร่วมกันเพื่อสร้างความตระหนักในการป้องกันสุขภาพของประชาชน อาศัยการดำเนินงานส่วนร่วมของหน่วยงานรัฐ เอกชน และประชาชน ตลอดจนเครือข่ายสุขภาพให้มีส่วนร่วมอย่างจริงจังและต่อเนื่อง จึงเป็นกิจกรรมสำคัญที่ต้องเร่งรัดดำเนินการ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้มีมาตรการควบคุมป้องกันในพื้นที่อย่างเข้มงวดและเป็นไปตามแนวทางที่กำหนด
  2. 2.เพื่อลดอัตราการระบาดและผู้ป่วยติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่2019

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดเตรียมสถานที่ LQ ประจำตำบล
  2. เจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานเฝ้าระวัง ควบคุม ผู้กักตัว สังเกตอาการ ณ LQ ประจำตำบล
  3. จัดซื้ออุปกรณ์ เครื่องใช้สำหรับผู้ถูกกักัน กักตัว คุมสังเกตอาการ ณ LQ ประจำตำบล

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 5,044
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๗.๑ ประชาชนได้รับการควบคุมป้องกันการระบาดโรคไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019 ๗.2 พื้นที่เขตเทศบาลตำบลยะรังได้รับการควบคุมป้องกันการระบาดโรคไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่
7.3 สถานที่ควบคุมและสังเกตอาการประจำเทศบาลตำบลยะรังสามารถเป็นพื้นที่ควบคุมการระบาดของโรคไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่อย่างมีประสิทธิภาพและได้รับความปลอดภัย


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้มีมาตรการควบคุมป้องกันในพื้นที่อย่างเข้มงวดและเป็นไปตามแนวทางที่กำหนด
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 2.เพื่อลดอัตราการระบาดและผู้ป่วยติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่2019
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 5044
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 5,044
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้มีมาตรการควบคุมป้องกันในพื้นที่อย่างเข้มงวดและเป็นไปตามแนวทางที่กำหนด (2) 2.เพื่อลดอัตราการระบาดและผู้ป่วยติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่2019

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดเตรียมสถานที่ LQ ประจำตำบล (2) เจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานเฝ้าระวัง ควบคุม ผู้กักตัว สังเกตอาการ ณ LQ ประจำตำบล (3) จัดซื้ออุปกรณ์ เครื่องใช้สำหรับผู้ถูกกักัน กักตัว คุมสังเกตอาการ ณ LQ ประจำตำบล

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการควบคุมป้องกันดูแลผู้เข้าข่ายการกักตัว กักกัน คุมไว้สังเกตอาการการระบาดของไวรัส โคโรนาสายพันธุ์ใหม่2019(Local Quarantine) จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 63-L8286-5-04

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวนูรีฮัน มูนิ๊ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด