กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการผักผลไม้ปลอดสารพิษ สิ่งแวดล้อมดี ชีวีปลอดภัย
รหัสโครงการ 63-L3355-2-10
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลท่ามิหรำ
วันที่อนุมัติ 6 ธันวาคม 2562
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 9 ธันวาคม 2562 - 30 กันยายน 2563
กำหนดวันส่งรายงาน 30 ตุลาคม 2563
งบประมาณ 18,900.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลท่ามิหรำ
พี่เลี้ยงโครงการ รพ.สต.บ้านน้ำเลือด
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลท่ามิหรำ อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง
ละติจูด-ลองจิจูด 7.589,100.05place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานขยะ , แผนงานอาหารและโภชนาการ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 2 ธ.ค. 2562 30 ก.ย. 2563 18,900.00
2 0.00
รวมงบประมาณ 18,900.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 60 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 จำนวนหมู่บ้านที่มีนโยบายหรือมาตรการด้านการจัดการขยะที่ถูกต้อง(แห่ง)
1.00
2 จำนวนหน่วยงาน/องค์กรที่มีนโยบายจัดการขยะที่ถูกต้อง(แห่ง)
2.00
3 จำนวนเงินที่ อปท.ใช้เพื่อการกำจัดขยะในชุมชน(บาท/ปี)
475,000.00
4 ปริมาณขยะที่ครัวเรือนผลิตได้ต่อวัน (ก.ก.)
1.00
5 จำนวนประชาชนที่มีพฤติกรรมแยกขยะถูกต้อง(ครัวเรือน)
25.00
6 จำนวนครัวเรือนต้นแบบด้านการจัดการขยะถูกต้อง(ครัวเรือน)
25.00
7 ร้อยละของครัวเรือนที่มีอาหารครบ 5 หมู่ (ผัก ผลไม้ ไขมัน ข้าว แป้ง เนื้อสัตว์) บริโภคอย่างเพียงพอ
65.00
8 จำนวนโรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กที่ใช้โปรแกรม Menu Thai School Lunch
2.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

จากการสำรวจปัญหาด้านสาธารณสุข ของตำบลท่ามิหรำ อำเภอเมือง จังหวัดพัทลุง พบว่าโรคที่เป็นปัญหาสาธารณสุขสำคัญในพื้นที่ คือโรคความดันโลหิดสูง โรคเบาหวาน สารเคมีตกค้างในกระแสเลือด ปัญหาโรคติดต่อที่เกิดจากปัญหาสิ่งแวดล้อมไม่ดี เช่นโรคอุจจาระร่วง โรคตาแดง โรคไข้เลือดออก จากปัญหาสุขภาพดังกล่าว พบว่าในชุมชนมีผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเพิ่มขึ้นมากขึ้น ต้องรับการบริการรักษาพยาบาลตลอดชีวิตสูญเสียค่าใช้จ่ายเป็นจำนวนมากซึ่งส่งผลกระทบต่อครอบครัว เป็นภาระที่รัฐบาลต้องเสียงบประมาณในการดำเนินการเป็นอันมากและเป็นการแก้ปัญหาที่ปลายเหตุ เนื่องจากต้นเหตุการค้าทำให้สารเคมีที่เป็นโทษเหล่านั้น ตกอยู่กับผู้บรโภคอย่างยากที่จะหลีกเลี่ง การรับประทานผัก อาหารที่มีกากใยมาก อาหารที่มีวิตามินสูง ซึ่งสามารถรับประทานได้จากผัก และผลไม้โดยเฉพาะผักและผลไม้ปลอดสารพิษที่สามารถปลูกรับประทานเองได้ในครัวเรือน ถือเป็นแนวทางหนึ่งในการป้องกันปัญหาโรคไม่ติดต่อและเป็นการแก้ที่ต้นเหตุแบบยั่งยืน โดยเน้นการให้สุขศึกษาแก่ประชาชนเกี่ยวกับการบริโภคผัก ผลไม้ และการส่งเสริมการปลูกผัก ผลไม้ปลอดสารพิษเพื่อบริโภคในครัวเรือน และโรคติดต่อที่เกิดจากปัญหาสภาพแวดล้อมในบริเวณบ้านไม่ดี ไม่เหมาะสม มีปัญหาด้านการจัดการขยะในบริเวณบ้านไม่ดีพอ ทำให้เกิดโรคต่าง ๆ เช่น โรคอุจจาระร่วง โรคตาแดง โรคไข้เลือดออก เป็นต้น จึงมีแนวคิดในการจะจัดให้มีกลุ่มบ้านที่สมัครใจในการจัดสภาพแวดล้อมในบริเวณบ้านที่เหมาะสม เพื่อลดอัตราเกิดโรคติดต่อที่สามารถป้องกันได้ โดยการนำมาบูรณาการร่วมกับการปลูกพืชผัก ผลไม่ปลอดสารพษ การจัดการสิ่งแวดล้อมดี เพื่อให้ชีวิตปลอดภัยอย่างยั่งยืน

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อเพิ่มจำนวนหมู่บ้านที่มีนโยบายจัดการขยะ

จำนวนหมู่บ้านที่มีนโยบายหรือมาตรการด้านการจัดการขยะที่ถูกต้อง(แห่ง)

1.00
2 เพื่อเพิ่มจำนวนหน่วยงานที่มีนโยบายจัดการขยะ

จำนวนหน่วยงาน/องค์กรที่มีนโยบายจัดการขยะที่ถูกต้อง(แห่ง)

2.00
3 เพื่อบริหารงบประมาณในการจัดการขยะ

จำนวนเงินที่ อปท.ใช้เพื่อการกำจัดขยะในชุมชน(บาท/ปี)

475000.00
4 เพื่อลดปริมาณขยะในครัวเรือน

ปริมาณขยะที่ครัวเรือนผลิตได้ต่อวัน (ก.ก.)

1.00
5 เพื่อเพิ่มจำนวนครัวเรือนในการแยกขยะ

จำนวนประชาชนที่มีพฤติกรรมแยกขยะถูกต้อง(ครัวเรือน)

25.00
6 เพื่อเพิ่มจำนวนครัวเรือนต้นแบบในจัดการขยะ

จำนวนครัวเรือนต้นแบบด้านการจัดการขยะถูกต้อง(ครัวเรือน)

25.00
7 เพิ่มจำนวนครัวเรือนที่มีอาหารครบ 5 หมู่ (ผัก ผลไม้ ไขมัน ข้าว แป้ง เนื้อสัตว์) บริโภคอย่างเพียงพอ

ร้อยละของครัวเรือนที่มีอาหารครบ 5 หมู่ บริโภคอย่างเพียงพอ เพิ่มขึ้น

65.00
8 เพิ่มการใช้โปรแกรม Menu Thai School Lunch ในโรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

จำนวนโรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็กที่ใช้โปรแกรม Menu Thai School Lunch

2.00
9 เพือให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจใการเลือกบริโภคพืชผัก ผลไม้ปลอดสารพิษ

กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจใการเลือกบริโภคพืชผัก ผลไม้ปลอดสารพิษ ร้อยละ 95

57.00
10 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีการับประทานผักและผลไม้อย่างน้อยครึ่งกิโลกรัมต่อวัน

กลุ่มเป้าหมายมีการับประทานผักและผลไม้อย่างน้อยครึ่งกิโลกรัมต่อวัน ร้อยละ 95

57.00
11 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายปลูกพืชผัก ผลไม้ปลอดสารพิษ รับประทานในครัวเรือน

กลุ่มเป้าหมายปลูกพืชผัก ผลไม้ปลอดสารพิษ รับประทานในครัวเรือน ร้อยละ 95

57.00
12 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีการจัดบริเวณบ้านที่เหมาะสม

กลุ่มเป้าหมายมีการจัดบริเวณบ้านที่เหมาะสม  ร้อยละ 95

57.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
1 กิจกรรมสิ่งแวดล้อมบริเวณบ้านเหมาะสม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 60 0.00 1 0.00
2 ธ.ค. 62 - 30 ก.ย. 63 กิจกรรมการคัดแยกขยะ การกำจัดขยะ การจัดสิ่งแวดล้อมบริเวณบ้านให้ถูกสุขลักษณะ 60 0.00 0.00
2 กิจกรรมติดตามประเมินผลความก้าวหน้าของแปลงผัก ผลไม้ปลอดสารพิา และการจัดสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสมในครัวเรือน กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 0.00 1 0.00
1 ก.ย. 62 - 30 ก.ย. 63 กิจกรรมการติดตามประเมินความก้าวหน้าของแปลงผัก ผลไม้ปลอดสารพิษ และการจัดสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสมในครัวเรือน 0 0.00 0.00
3 กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ความรู้เรื่องการจัดการผัก ผลไม้ปลอดสารพิา การเลือกซื้อการลูก การล้าง การเก็บ การรับประทานอาหารและความเสี่ยงจากการบริโภคพืชผักปนเปื้อนสารพิษ กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 402 18,900.00 2 18,900.00
1 ต.ค. 62 - 30 ก.ย. 63 ปลูกพืชผัก ผลไม้ปลอดสารพิษ รับประทานในครัวเรือน 201 8,475.00 8,475.00
6 ธ.ค. 62 - 30 ก.ย. 63 กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ความรู้เรื่องการจัดการผัก ผลไม้ปลอดสารพิา การเลือกซื้อการลูก การล้าง การเก็บ การรับประทานอาหารและความเสี่ยงจากการบริโภคพืชผักปนเปื้อนสารพิษ จำนวน 2 ครั้ง 201 10,425.00 10,425.00

1.สำรวจกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการ / ประชาสัมพันธ์โครงการ 2.จัดอบรมให้ความรู้เรื่องการจัดการผัก ผลไม้ปลอดสารพิษ การเลือกซื้อ การปลูก การล้าง การเก็บ การรับประทานอาหารและความเสี่ยงจากการบริโภคพิชผักปนเปื้นสารเคมี และการคัดแยกขยะ การกำจัดขยะ การจัดสภาพแวดล้อมในบริเวณบ้านให้ถูกสุขลักษณะ 3.จัดกิจกรรมปลูกผัก ผลไม้ ปลอดสารพิษในชุมชน โดยปลูกผักหลากหลายครัวเรือนละ 10 ชนิด การจัดกิจกรรมรณรงค์การคัดแยกขยะ การกำจัดขยะ การจัดสภาพแวดล้อมในบริเวรบ้านให้ถูกสุขลักษณะ 4.ส่งเสริมให้มีการแลกเปลี่ยนผักผลไม้เพื่อการบริโภคและแลกเปลี่ยนกล้าผัก ผลไม้ 5.ติดตามเยี่ยมบ้านและปะเมินผลกิจกรรมเดือนละครั้ง 6.สรุปผลและประเมินโครงการ

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ร้อยละ 95 ของกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจในการเลือกบริโภคพืชผัก ผลไม้ปลอดสารพิษ 2.ร้อยละ 95 ของกลุ่มเป้าหมายมีการรับประทานผักและผลไม้อย่างน้อยครึ่งกิโลกรัมต่อวัน 3.ร้อยละ 95 ของครัวเรือนที่ร่วมโครงการมีสิ่งแวดล้อมบริเวณบ้านเหมาะสม

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 2 เม.ย. 2563 16:13 น.