กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กำแพง


“ โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) หมู่ที่ 1 บ้านควนไสน ”

อำเภอละงู จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หมู่ที่ 1 บ้านควนไสน

ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) หมู่ที่ 1 บ้านควนไสน

ที่อยู่ อำเภอละงู จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 2563 – L8010 – 5 -02 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2563 ถึง 30 กันยายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) หมู่ที่ 1 บ้านควนไสน จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอละงู จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กำแพง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) หมู่ที่ 1 บ้านควนไสน



บทคัดย่อ

โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ปีงบประมาณ 2563 หน่วยงานที่รับผิดชอบ อาสาสมัครสาธารณสุขหมู่ที่ 1 บ้านควนไสน ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง จำนวน 22,640 บาท วัตถุประสงค์โครงการ เพื่อเฝ้าระวัง ควบคุม ป้องกัน และลดปัญหาการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ไม่ให้ขยายตัวเป็นวงกว้างจนยากแก่การควบคุม ตัวชี้วัดความสำเร็จ (1) ร้อยละ 100 มีเครือข่ายคณะทำงานในการเฝ้าระวัง ควบคุม ป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในหมู่บ้าน (2) ร้อยละ 100 ในหมู่บ้านไม่มีผู้ป่วยด้วยโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID -19)

กิจกรรมที่ดำเนินการ ดังนี้

กิจกรรมที่ 1 ประชุมคณะทำงาน

กิจกรรมที่ 2 เฝ้าระวัง และสังเกตอาการผู้ที่เดินทางกลับจากประเทศที่เป็นเขตโรคติดต่อหรือพื้นที่ระบาดต่อเนื่อง

กิจกรรมที่ 3 ควบคุม ทำความสะอาด ฆ่าเชื้อ สถานที่พักของผู้ป่วยที่เป็นโรคติดต่อ หรือสถานที่มีความเสี่ยงที่มีการรวมตัวของคนหมู่มาก เช่น ถ้ำเขาจำปา โรงเรียน เป็นต้น เพื่อป้องกันมิให้เกิดการแพร่ระบาดของโรคติดต่อ

กิจกรรมที่ 4 การประชาสัมพันธ์ และให้ความรู้ แก่ประชาชนทั่วไปในหมู่บ้าน

กิจกรรมที่ 5 รายงานผลโครงการและแลกเปลี่ยนเรียนรู้


ผลการดำเนินงาน

  1. มีเครือข่ายคณะทำงานในการเฝ้าระวัง ควบคุม และป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในหมู่บ้าน ร้อยละ 100 โดยการมีส่วนร่วมของผู้นำชุมชน และแกนนำอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน จำนวน 14 คน

  2. ร้อยละ 100 ในหมู่บ้าน ไม่มีผู้ป่วยด้วยโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID -19) จากการเฝ้าระวังในพื้นที่หมู่ที่ 1 บ้านควนไสน ที่เดินทางมาจากพื้นที่เสี่ยงได้รับการติดตาม เฝ้าระวัง และสังเกตอาการอย่างต่อเนื่อง จำนวน 14 วัน จำนวน 66 ราย และมีจุดตรวจคัดกรองจำนวน 1 แห่ง

  3. ทำความสะอาด พ่นยาฆ่าเชื้อในพื้นที่เสี่ยง เช่น มัสยิดในชุมชน จำนวน 1 แห่ง

  4. รณรงค์/ประชาสัมพันธ์เสียงตามสาย ให้ความรู้กับประชาชนในหมู่บ้าน เกี่ยวกับโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า -2019 (COVID -19)
  5. ประชาชนหมู่ที่ 1 บ้านควนไสน ได้รับการแจกจ่ายหน้ากากผ้าจากองค์การบริหารส่วนตำบลกำแพงและกองทุนหลักประกันสุขภาพ จำนวน 1,921 ชิ้น คลอบคลุมทุกหลังคาเรือน จำนวน 683 ครัวเรือน

ซึ่งการดำเนินโครงการครั้งนี้ สามารถควบคุม ป้องกันและแก้ไขปัญหาสุขภาพได้ทันต่อสถานการณ์และไม่มีอุบัติการณ์ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 ในพื้นที่หมู่ที่ 1 บ้านควนไสน


ปัญหาอุปสรรค

  • จากการลงเยี่ยมติดตาม และสังเกตอาการผู้ที่ถูกกักตัว จำนวน 14 วัน ที่เดินทางมาจากต่างจังหวัด พบว่าผู้ถูกกักตัวส่วนหนึ่งอยู่ร่วมกับบุคคลอื่นในบ้าน และไม่ได้ใส่หน้ากากอนามัยในการป้องกันตนเอง

ข้อเสนอแนะ

  • คณะทำงานลงพื้นที่ร่วมกับเจ้าหน้าที่สาธารณสุข และเจ้าหน้าที่องค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง เยี่ยมผู้ที่เดินทางกลับมาจากต่างจังหวัดหรือพื้นที่ที่มีความเสี่ยง เพื่อให้ความรู้และคำแนะนำในการปฏิบัติตัวกับผู้ที่ถูกกักตัว

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ด้วยได้เกิดสถานการณ์กรณีโรคไวรัสโคโรนา 2019 หรือโควิด 19 [ Coronavirus Disease 2019 (COVID 19)] ที่สาธารณรัฐประชาชนจีนตั้งแต่ช่วงเดือนธันวาคมที่ผ่านมา ซึ่งการแพร่ระบาดของโรคมีการเปลี่ยนแปลงและมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้นไปหลายประเทศทั่วโลกและภูมิภาคเอเชีย จำนวนผู้ป่วยยืนยันเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว และขณะนี้มีหลักฐานการติดต่อจากคน สู่คน และพบมีการระบาดภายในประเทศ (Local Transmission) เพิ่มขึ้นหลายพื้นที่ และมีสถานการณ์โรคล่าสุดวันที่ 31 มีนาคม 2563 สถานการณ์โรคทั่วโลก มีผู้ป่วยสะสม 784,381 ราย เสียชีวิต 37,780 ราย (ประเทศที่มีการป่วยสูง 5 ลำดับแรก 1 สหรัฐอเมริกา มีผู้ป่วยสะสม 163,479 ราย เสียชีวิต3,148 ราย 2.อิตาลี มีผู้ป่วยสะสม 101,739 ราย เสียชีวิต 11,591 ราย 3.สเปน มีผู้ป่วยสะสม 87,956 ราย เสียชีวิต7,716 ราย 4.สาธารณรัฐประชาชนจีน มีผู้ป่วยสะสม 81,470 ราย เสียชีวิต3,304 ราย และ 5.เยอรมัน มีผู้ป่วยสะสม 66,885 ราย เสียชีวิต 645 ราย สำหรับสถานการณ์โรคในประเทศไทย มีผู้ติดเชื้อ 61 จังหวัด คิดเป็นร้อยละ 79.22 และมีผู้ป่วยสะสม1,651 ราย เสียชีวิต 10 ราย (พบในกรุงทพฯ-นนทบุรี 869 ราย ภาคเหนือ 55 ราย ภาคกลาง 172 ราย ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 77 ราย และภาคใต้ 206 ราย) แยกผู้ป่วยรายเพศได้ดังนี้ เพศชาย ร้อยละ 41.30 และเพศหญิง ร้อยละ 58.70 และสถานการณ์โรคในภาคใต้ 14 จังหวัด พบมีผู้ติดเชื้อ 11 จังหวัด คิดเป็นร้อยละ 78.57 จังหวัดที่มีผู้ป่วย 5 ลำดับแรก คือ 1.ภูเก็ต มีผู้ป่วยสะสม55 ราย 2.ยะลา 48 ราย 3.ปัตตานี 33 ราย 4.สงขลา 30 ราย และ 5.กระบี่ 8 ราย สำหรับจังหวัดสตูลยังไม่พบผู้ป่วยหรือผู้ติดเชื้อ และพบว่าสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคมีแนวโน้มสูงขึ้น และมีความรุนแรงขึ้น

ด้วยเหตุนี้ กลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านหมู่ที่ 1 บ้านควนไสน จึงเล็งเห็นว่า หากไม่ดำเนินการป้องกัน ควบคุมโรคติดต่อกรณีโรคไวรัสโคโรนา 2019 หรือโควิด 19 นี้ ในพื้นที่ในเขตรับผิดชอบ ประชาชนมีโอกาสในการติดเชื้อไวรัสชนิดนี้ค่อนข้างสูง และเมื่อป่วยแล้วอาจมีการสูญเสียอย่างใหญ่หลวง ดังนั้นจึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นมาเพื่อป้องกัน ควบคุม มิให้คนในชุมชน/หมู่บ้านที่รับผิดชอบต้องป่วยและเสียชีวิต

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเฝ้าระวัง ควบคุม ป้องกัน และลดปัญหาการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ไม่ให้ขยายตัวเป็นวงกว้างจนยากแก่การควบคุม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมคณะทำงาน
  2. เฝ้าระวัง และสังเกตอาการผู้ที่เดินทางกลับจากประเทศที่เป็นเขตโรคติดต่อหรือพื้นที่ระบาดต่อเนื่อง
  3. ควบคุม ทำความสะอาด ฆ่าเชื้อ สถานที่พักของผู้ป่วยที่เป็นโรคติดต่อ หรือสถานที่มีความเสี่ยงที่มีการรวมตัวของคนหมู่มาก
  4. ประชาสัมพันธ์ และให้ความรู้ แก่ประชาชนทั่วไปในหมู่บ้าน
  5. รายงานผลโครงการและแลกเปลี่ยนเรียนรู้

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
คณะทำงานประจำหมู่บ้าน 14

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. มีเครือข่ายคณะทำงานในการเฝ้าระวัง ควบคุม ป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในพื้นที่
  2. ประชาชนในพื้นที่มีความรู้ ความตระหนักในการดูแลป้องกันไม่ให้เกิดโรคโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
  3. สามารถควบคุมป้องกันและลดปัญหาการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)ในพื้นที่ได้

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. เฝ้าระวัง และสังเกตอาการผู้ที่เดินทางกลับจากประเทศที่เป็นเขตโรคติดต่อหรือพื้นที่ระบาดต่อเนื่อง

วันที่ 18 เมษายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

  • เก็บ รวบรวม ข้อมูลผู้ที่เดินทางกลับจากประเทศที่เป็นเขตโรคติดต่อ หรือพื้นที่ระบาดต่อเนื่อง เข้ามาอยู่ในพื้นที่ รายงานให้เจ้าหน้าที่สาธารณสุข และอำเภอละงูทราบ

  • ดำเนินการเฝ้าระวัง และสังเกตอาการผู้ที่เดินทางกลับจากประเทศที่เป็นเขตโรคติดต่อ หรือพื้นที่ระบาดต่อเนื่อง เข้ามาอยู่ในพื้นที่ ร่วมกับคณะกรรมการหมู่บ้าน,เจ้าหน้าที่สาธารณสุขโรงพยาบาลละงู,องค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง และคณะทำงานฝ่ายปกครองในหมู่บ้าน รายงานให้อำเภอละงูทราบ

  • ดำเนินการให้ความรู้ แก่ผู้ที่ถูกกักตัวและญาติทุกราย ให้ดำเนินการตามมาตรการหมู่บ้านและชุมชนเป็นเวลา 14 วัน

  • ตั้งจุดตรวจคัดกรอง ร่วมกับคณะทำงานฝ่ายปกครองในหมู่บ้าน เพื่อคัดกรองบุคคลที่มีความเสี่ยง เพื่อดำเนินการซักประวัติต่อไป

  • คัดกรอง และซักประวัติบุคคลที่มีความเสี่ยงตามแบบฟอร์มของเจ้าหน้าที่สาธารณสุขกำหนดให้

  • กรณีพบผู้ที่มีภาวะเสี่ยง รายงานและประสานให้เจ้าหน้าที่สาธารณสุขดำเนินการต่อไป

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ร้อยละ 100 ในหมู่บ้าน ไม่มีผู้ป่วยด้วยโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID -19) จากการเฝ้าระวังในพื้นที่หมู่ที่ 1 บ้านควนไสน ที่เดินทางมาจากพื้นที่เสี่ยงได้รับการติดตาม เฝ้าระวัง และสังเกตอาการอย่างต่อเนื่อง จำนวน 14 วัน จำนวน 66 ราย และมีจุดตรวจคัดกรองจำนวน 1 แห่ง

  • ให้ความรู้ คำแนะนำในการปฏิบัติตัว แก่ผู้ถูกกักตัวและญาติ

 

0 0

2. ประชาสัมพันธ์ และให้ความรู้ แก่ประชาชนทั่วไปในหมู่บ้าน

วันที่ 18 เมษายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

  • จัดทำป้ายไวนิลเพื่อประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนในหมู่บ้านทราบ ถึงสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค และแนวทางการในการป้องกันแก้ไข

  • จัดทำเอกสาร แผ่นพับ หรือแผ่นปลิว เพื่อสร้างความรู้ให้ประชาชนทุกครัวเรือน

  • ประชาสัมพันธ์ทางเสียงตามสายในหมู่บ้าน หรือวิธีอื่นๆ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีป้ายไวนิลประชาสัมพันธ์/แผ่นผับให้ความรู้กับประชาชน พร้อมทั้งประชาสัมพันธ์ผ่านเสียงตามสายในชุมชนอย่างต่อเนื่อง

 

0 0

3. ประชุมคณะทำงาน

วันที่ 22 เมษายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

  1. ประชุมชี้แจงแนวทางในการปฏิบัติงานแก่คณะทำงาน จำนวน 1 ครั้ง

  2. จัดประชุม War room คณะทำงาน เดือนละ 1 ครั้ง จำนวน 3 เดือน เพื่อทราบสถานการและปรับแผนการทำงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ครั้งที่ 1 ประชุมชี้แจงแนวทางในการปฏิบัติงานแก่คณะทำงาน ชี้แจงรายละเอียดโครงการ วัตถุประสงค์ กิจกรรมและงบประมาณที่ได้รับ วางแผนการปฏิบัติและมอบหมายงานให้แก่คณะทำงาน

ครั้งที่ 2 ประชุมชี้แจงสถานการณ์ของโรคไวรัสโคโรน่า (COVID-19) ในชุมชนหมู่ที่ 1 บ้านควนไสน เพื่อดำเนินการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดในหมู่บ้าน ดังนี้

  • ดำเนินการเฝ้าระวังประชาชนในชุมชนที่เดินทางมาจากพื้นที่เสี่ยง โดยติดตาม เฝ้าระวัง และสังเกตอาการอย่างต่อเนื่อง จำนวน 14 วัน

  • ประชาสัมพันธ์ รณรงค์ให้ความรู้แก่ประชาชนในชุมชนอย่างต่อเนื่องเกี่ยวกับโรคไวรัสโคโรน่า (COVID-19)

  • ทำความสะอาด ฆ่าเชื้อ สถานที่มีความเสี่ยงที่มีการรวมตัวของคนหมู่มาก เช่น มัสยิด เป็นต้น เพื่อป้องกันมิให้เกิดการแพร่ระบาดของโรคติดต่อ

  • ตั้งจุดตรวจคัดกรอง โดยทำงานร่วมกับคณะทำงานฝ่ายปกครองในหมู่บ้าน เพื่อคัดกรองบุคคลที่มีความเสี่ยงในการเข้ามาในพื้นที่

ครั้งที่ 3 และ 4 ประชุมคณะทำงาน เพื่อรายงานสถานการณ์ของโรคไวรัสโคโรน่า (COVID-19) ในชุมชน

 

0 0

4. ควบคุม ทำความสะอาด ฆ่าเชื้อ สถานที่พักของผู้ป่วยที่เป็นโรคติดต่อ หรือสถานที่มีความเสี่ยงที่มีการรวมตัวของคนหมู่มาก

วันที่ 1 พฤษภาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

  • จัดตั้งทีมหรือคณะทำงานในหมู่บ้านเพื่อรับผิดชอบในการควบคุม ทำความสะอาด ฆ่าเชื้อโรค

  • ดำเนินการทำความสะอาดสถานที่ และฆ่าเชื้อด้วยน้ำยาฆ่าเชื้อในสถานที่พักของผู้ป่วยที่เป็นโรคติดต่อหรือสถานที่มีความเสี่ยงที่มีการรวมตัวของคนหมู่มาก เช่น โรงเรียน มัสยิด เป็นต้น อย่างน้อยสัปดาห์ละ 1 ครั้ง ร่วมกับคณะกรรมการหมู่บ้าน,เจ้าหน้าที่สาธารณสุขโรงพยาบาลละงู,องค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คณะทำงานร่วมกับแกนนำชุมชน ทำความสะอาด พ่นยาฆ่าเชื้อในพื้นที่เสี่ยง (มัสยิด) เดือนละ 2 ครั้ง

 

0 0

5. รายงานผลโครงการและแลกเปลี่ยนเรียนรู้

วันที่ 27 กันยายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

  1. รายงานผลและนำเสนอโครงการและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ จำนวน 2 ครั้ง

  2. จัดทำรายงานผลโครงการเสนอกองทุนตำบลอย่างน้อย 2 เล่ม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีรูปเล่มรายงานฉบับสมบูรณ์

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

ผลการดำเนินงาน
1. มีเครือข่ายคณะทำงานในการเฝ้าระวัง ควบคุม และป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในหมู่บ้าน ร้อยละ 100 โดยการมีส่วนร่วมของผู้นำชุมชน และแกนนำอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน จำนวน 14 คน

2. ร้อยละ 100 ในหมู่บ้าน ไม่มีผู้ป่วยด้วยโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID -19) จากการเฝ้าระวังในพื้นที่หมู่ที่ 1 บ้านควนไสน ที่เดินทางมาจากพื้นที่เสี่ยงได้รับการติดตาม เฝ้าระวัง และสังเกตอาการอย่างต่อเนื่อง จำนวน 14 วัน จำนวน 66 ราย และมีจุดตรวจคัดกรองจำนวน 1 แห่ง

3. ทำความสะอาด พ่นยาฆ่าเชื้อในพื้นที่เสี่ยง เช่น มัสยิดในชุมชน จำนวน 1 แห่ง

4. รณรงค์/ประชาสัมพันธ์เสียงตามสาย ให้ความรู้กับประชาชนในหมู่บ้าน เกี่ยวกับโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า -2019 (COVID -19)
5. ประชาชนหมู่ที่ 1 บ้านควนไสน ได้รับการแจกจ่ายหน้ากากผ้าจากองค์การบริหารส่วนตำบลกำแพงและกองทุนหลักประกันสุขภาพ จำนวน 1,921 ชิ้น คลอบคลุมทุกหลังคาเรือน จำนวน 683 ครัวเรือน

ซึ่งการดำเนินโครงการครั้งนี้ สามารถควบคุม ป้องกันและแก้ไขปัญหาสุขภาพได้ทันต่อสถานการณ์และไม่มีอุบัติการณ์ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 ในพื้นที่หมู่ที่ 1 บ้านควนไสน

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเฝ้าระวัง ควบคุม ป้องกัน และลดปัญหาการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ไม่ให้ขยายตัวเป็นวงกว้างจนยากแก่การควบคุม
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 100 มีเครือข่ายคณะทำงานในการเฝ้าระวัง ควบคุม ป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในหมู่บ้าน 2. ร้อยละ 100 ในหมู่บ้าน ไม่มีผู้ป่วยด้วยโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID -19)
0.00 100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 14 14
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
คณะทำงานประจำหมู่บ้าน 14 14

บทคัดย่อ*

โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ปีงบประมาณ 2563 หน่วยงานที่รับผิดชอบ อาสาสมัครสาธารณสุขหมู่ที่ 1 บ้านควนไสน ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง จำนวน 22,640 บาท วัตถุประสงค์โครงการ เพื่อเฝ้าระวัง ควบคุม ป้องกัน และลดปัญหาการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ไม่ให้ขยายตัวเป็นวงกว้างจนยากแก่การควบคุม ตัวชี้วัดความสำเร็จ (1) ร้อยละ 100 มีเครือข่ายคณะทำงานในการเฝ้าระวัง ควบคุม ป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในหมู่บ้าน (2) ร้อยละ 100 ในหมู่บ้านไม่มีผู้ป่วยด้วยโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID -19)

กิจกรรมที่ดำเนินการ ดังนี้

กิจกรรมที่ 1 ประชุมคณะทำงาน

กิจกรรมที่ 2 เฝ้าระวัง และสังเกตอาการผู้ที่เดินทางกลับจากประเทศที่เป็นเขตโรคติดต่อหรือพื้นที่ระบาดต่อเนื่อง

กิจกรรมที่ 3 ควบคุม ทำความสะอาด ฆ่าเชื้อ สถานที่พักของผู้ป่วยที่เป็นโรคติดต่อ หรือสถานที่มีความเสี่ยงที่มีการรวมตัวของคนหมู่มาก เช่น ถ้ำเขาจำปา โรงเรียน เป็นต้น เพื่อป้องกันมิให้เกิดการแพร่ระบาดของโรคติดต่อ

กิจกรรมที่ 4 การประชาสัมพันธ์ และให้ความรู้ แก่ประชาชนทั่วไปในหมู่บ้าน

กิจกรรมที่ 5 รายงานผลโครงการและแลกเปลี่ยนเรียนรู้


ผลการดำเนินงาน

  1. มีเครือข่ายคณะทำงานในการเฝ้าระวัง ควบคุม และป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในหมู่บ้าน ร้อยละ 100 โดยการมีส่วนร่วมของผู้นำชุมชน และแกนนำอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน จำนวน 14 คน

  2. ร้อยละ 100 ในหมู่บ้าน ไม่มีผู้ป่วยด้วยโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID -19) จากการเฝ้าระวังในพื้นที่หมู่ที่ 1 บ้านควนไสน ที่เดินทางมาจากพื้นที่เสี่ยงได้รับการติดตาม เฝ้าระวัง และสังเกตอาการอย่างต่อเนื่อง จำนวน 14 วัน จำนวน 66 ราย และมีจุดตรวจคัดกรองจำนวน 1 แห่ง

  3. ทำความสะอาด พ่นยาฆ่าเชื้อในพื้นที่เสี่ยง เช่น มัสยิดในชุมชน จำนวน 1 แห่ง

  4. รณรงค์/ประชาสัมพันธ์เสียงตามสาย ให้ความรู้กับประชาชนในหมู่บ้าน เกี่ยวกับโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า -2019 (COVID -19)
  5. ประชาชนหมู่ที่ 1 บ้านควนไสน ได้รับการแจกจ่ายหน้ากากผ้าจากองค์การบริหารส่วนตำบลกำแพงและกองทุนหลักประกันสุขภาพ จำนวน 1,921 ชิ้น คลอบคลุมทุกหลังคาเรือน จำนวน 683 ครัวเรือน

ซึ่งการดำเนินโครงการครั้งนี้ สามารถควบคุม ป้องกันและแก้ไขปัญหาสุขภาพได้ทันต่อสถานการณ์และไม่มีอุบัติการณ์ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 ในพื้นที่หมู่ที่ 1 บ้านควนไสน


ปัญหาอุปสรรค

  • จากการลงเยี่ยมติดตาม และสังเกตอาการผู้ที่ถูกกักตัว จำนวน 14 วัน ที่เดินทางมาจากต่างจังหวัด พบว่าผู้ถูกกักตัวส่วนหนึ่งอยู่ร่วมกับบุคคลอื่นในบ้าน และไม่ได้ใส่หน้ากากอนามัยในการป้องกันตนเอง

ข้อเสนอแนะ

  • คณะทำงานลงพื้นที่ร่วมกับเจ้าหน้าที่สาธารณสุข และเจ้าหน้าที่องค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง เยี่ยมผู้ที่เดินทางกลับมาจากต่างจังหวัดหรือพื้นที่ที่มีความเสี่ยง เพื่อให้ความรู้และคำแนะนำในการปฏิบัติตัวกับผู้ที่ถูกกักตัว

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ
  1. จากการลงเยี่ยมติดตาม และสังเกตอาการผู้ที่ถูกกักตัว จำนวน 14 วัน ที่เดินทางมาจากต่างจังหวัด พบว่าผู้ถูกกักตัวส่วนหนึ่งอยู่ร่วมกับบุคคลอื่นในบ้าน และไม่ได้ใส่หน้ากากอนามัยในการป้องกันตนเอง

 

  1. การประชาสัมพันธ์ให้ความรู้เกี่ยวกับโรคไวรัสโคโรน่า 2019 ควรมีการประชาสัมพันธ์อย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ประชาชนในชุมชนตระหนักและมีการป้องกันตนเองอย่างสม่ำเสมอ

ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) หมู่ที่ 1 บ้านควนไสน

รหัสโครงการ 2563 – L8010 – 5 -02 ระยะเวลาโครงการ 1 เมษายน 2563 - 30 กันยายน 2563

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) หมู่ที่ 1 บ้านควนไสน จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 2563 – L8010 – 5 -02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หมู่ที่ 1 บ้านควนไสน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด