โครงการเผชิญการระบาดของ COVID-19 องค์การบริหารส่วนตำบลหนองช้างแล่น
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการเผชิญการระบาดของ COVID-19 องค์การบริหารส่วนตำบลหนองช้างแล่น ”
ตำบลหนองช้างแล่น อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
สำนักปลัด องค์การบริหารส่วนตำบลหนองช้างแล่น อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.หนองช้างแล่น
เมษายน 2563
ชื่อโครงการ โครงการเผชิญการระบาดของ COVID-19 องค์การบริหารส่วนตำบลหนองช้างแล่น
ที่อยู่ ตำบลหนองช้างแล่น อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 63-L1539-05-01 เลขที่ข้อตกลง 1/2563
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 7 เมษายน 2563 ถึง 30 เมษายน 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเผชิญการระบาดของ COVID-19 องค์การบริหารส่วนตำบลหนองช้างแล่น จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหนองช้างแล่น อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.หนองช้างแล่น ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเผชิญการระบาดของ COVID-19 องค์การบริหารส่วนตำบลหนองช้างแล่น
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเผชิญการระบาดของ COVID-19 องค์การบริหารส่วนตำบลหนองช้างแล่น " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหนองช้างแล่น อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 63-L1539-05-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 7 เมษายน 2563 - 30 เมษายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 177,636.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.หนองช้างแล่น เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากสถานการณ์การระบาดของไวรัสโควิด 2019 ซึ่งมีการประกาศกระทรวงสาธารณสุขให้ โรคไวรัสโครนา หรือ COVID-19 เป็นโรคร้ายแรง ทำให้เกิดการตื่นตระหนกของประชาชนทั่วโลกและคนไทย ซึ่งพบการระบาดไปในหลายประเทศส่งผลให้มีผู้เสียชีวิตจำนวนมาก ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจสังคมอย่างรุนแรง สถานการณ์การระบาดกำลังแพร่กระจายยังไม่สามารถควบคุมได้ สาเหตุการเสียชีวิตส่วนใหญ่ ตัวไวรัส COVID-19 จะทำให้เกิดการไข้สูง จาม ไอ การอักเสบของปอดและเยื้อหุ้มปอดอย่างรุนแรนแรง แต่อย่างไรก็ตามอัตราการตายไม่ได้สูงมากนักเพียง 1-3% ร้ายแรงน้อยกว่า SAR ซึ่งมีอัตราการตาย 10 %
ดังนั้น มาตรการการป้องกันไม่ให้ติดโรค COVID-19 นั้นถือว่าจำเป็น ด้วยการดำเนินมาตรการการรักษาร่างกายให้แข็งแรง ออกกำลังกายเพื่อมิให้ป่วย การป้องกันตนเอง เช่น หลีกเลี่ยงการเดินทางไปในประเทศหรือสถานที่มีคนพลุกพล่าน การล้างมือให้สะอาดอย่างถูกต้อง ทั้งด้วยแอลกอฮอล์เจล สบู่ การสวมหน้ากากอนามัยอย่างถูกวิธีการ การไม่นำเอามือมาป้ายหรือ จับหน้า ความรู้และเข้าใจการดำเนินไปของโรค เป็นสิ่งสำคัญ
จังหวัดตรัง มีผู้ป่วยที่เข้าเกณฑ์สอบสวนโรค 81 ราย ตรวจไม่พบเชื้อ 63 ราย รอผลการตรวจ 13 ราย ยืนยันพบผู้ติดเชื้อ COVID-19 จำนวน 5 ราย รักษาตัวในโรงพยาบาลและมีบุคลากรทางการแพทย์ติดเชื้อ COVID-19 ในพื้นที่ตำบลหนองช้างแล่น พบบุคคลที่เดินทางไปประกอบอาชีพหรืออาศัยอยู่ในจังหวัดที่มีการระบาดของโรคอย่างรุนแรง เช่น กรุงเทพมหานคร จังหวัดภูเก็ต และจังหวัดอื่นๆ โดยได้เดินทางกลับมาอาศัยอยู่ในพื้นที่ปัจจุบัน จำนวน 107 ครัวเรือน นอกจากนั้นยังมีประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคติดเชื้อ COVID-19 เช่น กลุ่มผู้ป่วยติดเตียง ผู้ป่วยหอบหืด โรคถุงลมโป่งพอง โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคมะเร็ง เด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี และผู้สูงอายุ ที่มีอายุ 70 ปีขึ้นไป ซึ่งถือเป็นกลุ่มเสี่ยงต่อโรค รวมจำนวน ครอบครัว องค์การบริหารส่วนตำบลหนองช้างแล่น จึงได้จัดทำโครงการเผชิญการระบาดของ COVID-19 ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่อเสริมสร้างความเข้าใจแก่ประชาชนเกี่ยวกับโรคและการป้องกันโรค COVID-19
- 2.เพื่อสร้างความเข้าใจการสวมหน้ากากอนามัย การมีหน้ากากอนามัยไว้ใช้เอง และจัดหาหน้ากากอนามัยให้แก่ประชาชนที่ยังไม่มีหน้ากากอนามัยป้องกันโรค
- 3.พื่อจัดหาแอลกอฮอล์เจลให้แก่ผู้ปฏิบัติงานบริการประชาชน ประชาชนที่มาติดต่อราชการหรือทำกิจกรรมที่่จำเป็น และประชาชนกลุ่มเสี่ยง
- 4.เพื่อจัดหาเครื่องวัดอุณหภูมิในการป้องกันโรค
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
8,596
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1 ประชาชนมีความรู้เรื่องอาการของโรคและการป้องกันโรค COVID-19
2 ประชาชนทุกคนมีหน้ากากอนามัยใช้เองและสามารถสวมหน้ากากถูกต้อง
3 เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน และประชาชนกลุ่มเสี่ยงใช้เจลแอลกอฮอล์กรณีไม่สะดวกล้างมือเพื่อป้องกันโรค COVID-19
4 มีเครื่องมือวัดอุณหภูมิคัดกรองและป้องกันโรคติดต่อ
5 ช่วยลดภาระค่าใช้จ่ายของประชาชนในการเฝ้าระวังและป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
6 ประชาชนเกิดความตระหนักในการเฝ้าระวังและป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
7 เป็นการกระตุ้นให้แต่ละหมู่บ้าน ตระหนักเห็นความสำคัญและร่วมป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
8 เกิดการประสานงานและความร่วมมือที่ดีต่อกันในหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในพื้นที่
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1.เพื่อเสริมสร้างความเข้าใจแก่ประชาชนเกี่ยวกับโรคและการป้องกันโรค COVID-19
ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดความสำเร็จ :
ร้อยละของ ปชช.มีความร้เรื่องอาการของโรคการป้องกันโรค COVID-19 50.00 100.00
8596.00
2
2.เพื่อสร้างความเข้าใจการสวมหน้ากากอนามัย การมีหน้ากากอนามัยไว้ใช้เอง และจัดหาหน้ากากอนามัยให้แก่ประชาชนที่ยังไม่มีหน้ากากอนามัยป้องกันโรค
ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดความสำเร็จ :
ร้อยละของ ปชช.ที่สามารถมีหน้ากากอนามัยใช้เองและสามารถสวมหน้ากากถูกต้อง
50.00 100.00
3500.00
3
3.พื่อจัดหาแอลกอฮอล์เจลให้แก่ผู้ปฏิบัติงานบริการประชาชน ประชาชนที่มาติดต่อราชการหรือทำกิจกรรมที่่จำเป็น และประชาชนกลุ่มเสี่ยง
ตัวชี้วัด : เจ้าหน้าที่ผู้ป๋ฏิบัติงาน ประชาชนที่มาติดต่อหรือทำกิจกรรม และประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีแอลกอฮอล์เจลไว้ใช้กรณีไม่สะดวกล้างมือ
300.00
4
4.เพื่อจัดหาเครื่องวัดอุณหภูมิในการป้องกันโรค
ตัวชี้วัด : มีเครื่องวัดอุณหภูมิเพื่อคัดกรองเจ้าหน้าที่ ประชาชน ที่มาติดต่อหรือทำกิจกรรมเพื่อป้องกันโรคและการเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยง
12.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
8596
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
8,596
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อเสริมสร้างความเข้าใจแก่ประชาชนเกี่ยวกับโรคและการป้องกันโรค COVID-19 (2) 2.เพื่อสร้างความเข้าใจการสวมหน้ากากอนามัย การมีหน้ากากอนามัยไว้ใช้เอง และจัดหาหน้ากากอนามัยให้แก่ประชาชนที่ยังไม่มีหน้ากากอนามัยป้องกันโรค (3) 3.พื่อจัดหาแอลกอฮอล์เจลให้แก่ผู้ปฏิบัติงานบริการประชาชน ประชาชนที่มาติดต่อราชการหรือทำกิจกรรมที่่จำเป็น และประชาชนกลุ่มเสี่ยง (4) 4.เพื่อจัดหาเครื่องวัดอุณหภูมิในการป้องกันโรค
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการเผชิญการระบาดของ COVID-19 องค์การบริหารส่วนตำบลหนองช้างแล่น จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 63-L1539-05-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( สำนักปลัด องค์การบริหารส่วนตำบลหนองช้างแล่น อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการเผชิญการระบาดของ COVID-19 องค์การบริหารส่วนตำบลหนองช้างแล่น ”
ตำบลหนองช้างแล่น อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
สำนักปลัด องค์การบริหารส่วนตำบลหนองช้างแล่น อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง
เมษายน 2563
ที่อยู่ ตำบลหนองช้างแล่น อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 63-L1539-05-01 เลขที่ข้อตกลง 1/2563
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 7 เมษายน 2563 ถึง 30 เมษายน 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเผชิญการระบาดของ COVID-19 องค์การบริหารส่วนตำบลหนองช้างแล่น จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหนองช้างแล่น อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.หนองช้างแล่น ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเผชิญการระบาดของ COVID-19 องค์การบริหารส่วนตำบลหนองช้างแล่น
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเผชิญการระบาดของ COVID-19 องค์การบริหารส่วนตำบลหนองช้างแล่น " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหนองช้างแล่น อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 63-L1539-05-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 7 เมษายน 2563 - 30 เมษายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 177,636.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.หนองช้างแล่น เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากสถานการณ์การระบาดของไวรัสโควิด 2019 ซึ่งมีการประกาศกระทรวงสาธารณสุขให้ โรคไวรัสโครนา หรือ COVID-19 เป็นโรคร้ายแรง ทำให้เกิดการตื่นตระหนกของประชาชนทั่วโลกและคนไทย ซึ่งพบการระบาดไปในหลายประเทศส่งผลให้มีผู้เสียชีวิตจำนวนมาก ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจสังคมอย่างรุนแรง สถานการณ์การระบาดกำลังแพร่กระจายยังไม่สามารถควบคุมได้ สาเหตุการเสียชีวิตส่วนใหญ่ ตัวไวรัส COVID-19 จะทำให้เกิดการไข้สูง จาม ไอ การอักเสบของปอดและเยื้อหุ้มปอดอย่างรุนแรนแรง แต่อย่างไรก็ตามอัตราการตายไม่ได้สูงมากนักเพียง 1-3% ร้ายแรงน้อยกว่า SAR ซึ่งมีอัตราการตาย 10 %
ดังนั้น มาตรการการป้องกันไม่ให้ติดโรค COVID-19 นั้นถือว่าจำเป็น ด้วยการดำเนินมาตรการการรักษาร่างกายให้แข็งแรง ออกกำลังกายเพื่อมิให้ป่วย การป้องกันตนเอง เช่น หลีกเลี่ยงการเดินทางไปในประเทศหรือสถานที่มีคนพลุกพล่าน การล้างมือให้สะอาดอย่างถูกต้อง ทั้งด้วยแอลกอฮอล์เจล สบู่ การสวมหน้ากากอนามัยอย่างถูกวิธีการ การไม่นำเอามือมาป้ายหรือ จับหน้า ความรู้และเข้าใจการดำเนินไปของโรค เป็นสิ่งสำคัญ
จังหวัดตรัง มีผู้ป่วยที่เข้าเกณฑ์สอบสวนโรค 81 ราย ตรวจไม่พบเชื้อ 63 ราย รอผลการตรวจ 13 ราย ยืนยันพบผู้ติดเชื้อ COVID-19 จำนวน 5 ราย รักษาตัวในโรงพยาบาลและมีบุคลากรทางการแพทย์ติดเชื้อ COVID-19 ในพื้นที่ตำบลหนองช้างแล่น พบบุคคลที่เดินทางไปประกอบอาชีพหรืออาศัยอยู่ในจังหวัดที่มีการระบาดของโรคอย่างรุนแรง เช่น กรุงเทพมหานคร จังหวัดภูเก็ต และจังหวัดอื่นๆ โดยได้เดินทางกลับมาอาศัยอยู่ในพื้นที่ปัจจุบัน จำนวน 107 ครัวเรือน นอกจากนั้นยังมีประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคติดเชื้อ COVID-19 เช่น กลุ่มผู้ป่วยติดเตียง ผู้ป่วยหอบหืด โรคถุงลมโป่งพอง โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคมะเร็ง เด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี และผู้สูงอายุ ที่มีอายุ 70 ปีขึ้นไป ซึ่งถือเป็นกลุ่มเสี่ยงต่อโรค รวมจำนวน ครอบครัว องค์การบริหารส่วนตำบลหนองช้างแล่น จึงได้จัดทำโครงการเผชิญการระบาดของ COVID-19 ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่อเสริมสร้างความเข้าใจแก่ประชาชนเกี่ยวกับโรคและการป้องกันโรค COVID-19
- 2.เพื่อสร้างความเข้าใจการสวมหน้ากากอนามัย การมีหน้ากากอนามัยไว้ใช้เอง และจัดหาหน้ากากอนามัยให้แก่ประชาชนที่ยังไม่มีหน้ากากอนามัยป้องกันโรค
- 3.พื่อจัดหาแอลกอฮอล์เจลให้แก่ผู้ปฏิบัติงานบริการประชาชน ประชาชนที่มาติดต่อราชการหรือทำกิจกรรมที่่จำเป็น และประชาชนกลุ่มเสี่ยง
- 4.เพื่อจัดหาเครื่องวัดอุณหภูมิในการป้องกันโรค
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 8,596 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1 ประชาชนมีความรู้เรื่องอาการของโรคและการป้องกันโรค COVID-19
2 ประชาชนทุกคนมีหน้ากากอนามัยใช้เองและสามารถสวมหน้ากากถูกต้อง
3 เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน และประชาชนกลุ่มเสี่ยงใช้เจลแอลกอฮอล์กรณีไม่สะดวกล้างมือเพื่อป้องกันโรค COVID-19
4 มีเครื่องมือวัดอุณหภูมิคัดกรองและป้องกันโรคติดต่อ
5 ช่วยลดภาระค่าใช้จ่ายของประชาชนในการเฝ้าระวังและป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
6 ประชาชนเกิดความตระหนักในการเฝ้าระวังและป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
7 เป็นการกระตุ้นให้แต่ละหมู่บ้าน ตระหนักเห็นความสำคัญและร่วมป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
8 เกิดการประสานงานและความร่วมมือที่ดีต่อกันในหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในพื้นที่
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1.เพื่อเสริมสร้างความเข้าใจแก่ประชาชนเกี่ยวกับโรคและการป้องกันโรค COVID-19 ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดความสำเร็จ : ร้อยละของ ปชช.มีความร้เรื่องอาการของโรคการป้องกันโรค COVID-19 50.00 100.00 |
8596.00 |
|
||
2 | 2.เพื่อสร้างความเข้าใจการสวมหน้ากากอนามัย การมีหน้ากากอนามัยไว้ใช้เอง และจัดหาหน้ากากอนามัยให้แก่ประชาชนที่ยังไม่มีหน้ากากอนามัยป้องกันโรค ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดความสำเร็จ : ร้อยละของ ปชช.ที่สามารถมีหน้ากากอนามัยใช้เองและสามารถสวมหน้ากากถูกต้อง 50.00 100.00 |
3500.00 |
|
||
3 | 3.พื่อจัดหาแอลกอฮอล์เจลให้แก่ผู้ปฏิบัติงานบริการประชาชน ประชาชนที่มาติดต่อราชการหรือทำกิจกรรมที่่จำเป็น และประชาชนกลุ่มเสี่ยง ตัวชี้วัด : เจ้าหน้าที่ผู้ป๋ฏิบัติงาน ประชาชนที่มาติดต่อหรือทำกิจกรรม และประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีแอลกอฮอล์เจลไว้ใช้กรณีไม่สะดวกล้างมือ |
300.00 |
|
||
4 | 4.เพื่อจัดหาเครื่องวัดอุณหภูมิในการป้องกันโรค ตัวชี้วัด : มีเครื่องวัดอุณหภูมิเพื่อคัดกรองเจ้าหน้าที่ ประชาชน ที่มาติดต่อหรือทำกิจกรรมเพื่อป้องกันโรคและการเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยง |
12.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 8596 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 8,596 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อเสริมสร้างความเข้าใจแก่ประชาชนเกี่ยวกับโรคและการป้องกันโรค COVID-19 (2) 2.เพื่อสร้างความเข้าใจการสวมหน้ากากอนามัย การมีหน้ากากอนามัยไว้ใช้เอง และจัดหาหน้ากากอนามัยให้แก่ประชาชนที่ยังไม่มีหน้ากากอนามัยป้องกันโรค (3) 3.พื่อจัดหาแอลกอฮอล์เจลให้แก่ผู้ปฏิบัติงานบริการประชาชน ประชาชนที่มาติดต่อราชการหรือทำกิจกรรมที่่จำเป็น และประชาชนกลุ่มเสี่ยง (4) 4.เพื่อจัดหาเครื่องวัดอุณหภูมิในการป้องกันโรค
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการเผชิญการระบาดของ COVID-19 องค์การบริหารส่วนตำบลหนองช้างแล่น จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 63-L1539-05-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( สำนักปลัด องค์การบริหารส่วนตำบลหนองช้างแล่น อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......