กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ ส่งเสริมการปั่นจักรยานออกกำลังกาย
รหัสโครงการ 63-L8021-02-04
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ กลุ่มนักปั่นจักรยานเพื่อสุขภาพเทศบาลตำบลนาสีทอง
วันที่อนุมัติ 3 มีนาคม 2563
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มีนาคม 2563 - 30 กันยายน 2563
กำหนดวันส่งรายงาน 30 ตุลาคม 2563
งบประมาณ 44,120.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายจำนงค์ เตี้ยวเจริญ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกิจกรรมทางกาย
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มวัยทำงาน 13 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

ระบุ

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของผู้สูงอายุ 65 ปี ขึ้นไป ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลาง อย่างน้อย 150 นาทีต่อสัปดาห์)
13.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ปัจจุบันประชาชนในชุมชนได้มีการตระหนักถึงความสำคัญของการออกกำลังกายกันมากขึ้น และได้มีการรวมกลุ่มกันจัดกิจกรรมการออกกำลังกายกันอย่างเเพร่หลายในรูปแบบต่างๆ อาทิเช่น การเดิน การวิ่ง การเต้นแอโรบิก การเตะตะกร้อ และการปั่นจักรยาน และในปัจจุบันในชุมชนได้มีประชาชนหันมาปั่นจักรยานกันมากขึ้น ดังนั้น จึงได้เกิดการร่วมกลุ่มกันของนักปั่นจักรยาน ได้มีการจัดตั้งกลุ่มนักปั่นจักรยานเพื่อสุขภาพขึ้น เพื่อเป็นการส่งเสริมและชักชวนประชาชนให้เข้ามาออกกำลังกายกันมากขึ้น ทางกลุ่มจึงได้มีความเห็นจะขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติมา (กองทุนระบบหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลนาสีทอง) ณ โอกาสนี้

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อส่งเสริมให้คนในชุมชนหันมาร่วมปั่นจักรยานออกกำลังกายมากขึ้น

มีสมาชิกเข้าร่วมปั่นจักรยานเพิ่มขึ้น

0.00
2 เพื่อให้คนในชุมชนมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดีขึ้น

สมาชิกมีร่างกายที่แข็งแรงและมีสุขภาพจิตที่ดีขึ้น

0.00
3 เพื่อให้สมาชิกและชุมชนมีความรู้ความชำนาญในการใช้รถบนถนนมากขึ้น

ประชาชนใช้รถในชีวิตประจำวันได้อย่างปลอดภัยและอุบัติเหตุลดลง

0.00
4 เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้ใหญ่

ร้อยละของผู้ใหญ่อายุ 18-64 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 150 นาทีต่อสัปดาห์)

5 เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้ใหญ่

ร้อยละของผู้ใหญ่อายุ 18-64 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 150 นาทีต่อสัปดาห์)

6 เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้สูงอายุ

ร้อยละของผู้สูงอายุ 65 ปีขึ้นไป ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางอย่างน้อยที่สุด 150 นาทีต่อสัปดาห์)

13.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 13 13.00 0 0.00
10 ก.ค. 63 ddf 13 13.00 -
  1. ประชุมและเลือกคณะกรรมการ
  2. เขียนโครงการและนำเสนอโครงการเพื่อขอรับเงินสนับสนุน
  3. ประชาสัมพันธ์โครงการต่อคนในชุมชน
  4. ดำเนินโครงการโดยนัดรวมนักปั่นจักรยานให้มีการปั่นจักรยานอย่างน้อยสัปดาห์ละ 5 วัน ในช่วงเช้า เวลา 05.30 น. หรือช่วงเย็น เวลา 17.00 น.
  5. ประเมินสุขภาพของผู้เข้าร่วมกิจกรรม
  6. สรุปและประเมินผลโครงการ
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. คนในชุมชนหันมาออกกำลังกายโดยการปั่นจักรยานมากขึ้น
  2. คนในชุมชนมีสุขภาพร่างกายที่ดีขึ้น
  3. คนในชุมชนได้มีความสามัคคี ได้พบปะกัน และมีสุขภาพจิตที่ดีขึ้น
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 7 เม.ย. 2563 09:23 น.