โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในโรงเรียน รร.บูกิตอิสลามมียะห์ ประจำปี พ.ศ. 2560
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในโรงเรียน รร.บูกิตอิสลามมียะห์ ประจำปี พ.ศ. 2560 ”
ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นายมะปัดรีมะนาแซ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต
กันยายน 2560
ชื่อโครงการ โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในโรงเรียน รร.บูกิตอิสลามมียะห์ ประจำปี พ.ศ. 2560
ที่อยู่ ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 60-L2479-2-24 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 30 มีนาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในโรงเรียน รร.บูกิตอิสลามมียะห์ ประจำปี พ.ศ. 2560 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในโรงเรียน รร.บูกิตอิสลามมียะห์ ประจำปี พ.ศ. 2560
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในโรงเรียน รร.บูกิตอิสลามมียะห์ ประจำปี พ.ศ. 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 60-L2479-2-24 ระยะเวลาการดำเนินงาน 30 มีนาคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ด้วยปัจจุบันสถานการณ์การแพร่ระบาดของยาเสพติด ยังคงระดับความรุนแรงอย่างต่อเนื่อง รัฐบาลจึงกำหนดให้การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด เป็นแนวนโยบายที่สำคัญและเร่งด่วนในการบริหารราชการแผ่นดิน โดยยึดหลัก“ผู้เสพ คือ ผู้ป่วยที่ต้องได้รับการบำบัดรักษา ผู้ค้า คือ ผู้ที่ต้องได้รับโทษตามกระบวนการยุติธรรม” ซึ่งกำหนดให้เร่งรัดปราบปรามการค้ายาเสพติด และป้องกันมิให้กลุ่มเสี่ยงเข้าไปเป็นเหยื่อของยาเสพติดโดยใช้กระบวนการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในสังคม ให้ร่วมดำเนินการในลักษณะแบบบูรณาการ ควบคู่กับมาตรการทางกฎหมาย ซึ่งจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของยาเสพติดในประเทศไทย พบว่า มีเด็กและเยาวชน จำนวนไม่น้อยที่เข้าไปยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด ทั้งเกิดจากความตั้งใจ และเกิดจากการหลงผิดโดยรู้เท่าไม่ถึงการณ์ อีกทั้งยังมีปัจจัยเสี่ยงต่างๆ ที่จะทำให้เด็กและเยาวชนมีโอกาสเข้าไปติดยาเสพติดเพิ่มมากขึ้นอีก เช่น เด็ก และเยาวชน เป็นวัยที่ต้องการเรียนรู้ อยากลอง ต้องการเรียกร้องความสนใจ การสร้างการยอมรับ กล้าทำ ในสิ่งท้าทาย การชักจูง และการหลอกลวงเป็นต้น ดังนั้น เด็กและเยาวชน จำเป็นต้องได้รับดูแลเอาใจใส่ อย่างเพียงพอ ต้องได้รับการถ่ายทอดความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องและการรู้โทษที่ร้ายแรงของสิ่งเสพติด อย่างเหมาะสม การรู้จักการหลีกเลี่ยงจากสิ่งเสพติด และสิ่งสำคัญคือการสร้างภูมิคุ้มกันให้กับเด็กและเยาวชนโดยผนึกกำลังทุกภาคส่วน ให้ร่วมคิด ร่วมทำร่วมรับผิดชอบ และร่วมแรงร่วมใจกันเป็นพลังของแผ่นดิน ที่จะต่อสู้เพื่อเอาชนะปัญหายาเสพติด
โรงเรียนเป็นส่วนหนึ่งของชุมชนและสังคม นอกจากเป็นสถานที่ในการถ่ายทอดวิชาความรู้ด้านต่าง ๆแก่นักเรียนแล้ว ยังมีบทบาทหน้าที่และภารกิจอีกหลายด้านรวมทั้ง การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ซึ่งเป็นภารกิจที่ทุกภาคส่วนต้องดำเนินการร่วมกันและในสภาพปัจจุบันสถานการณ์การแพร่ระบาดของยาเสพติด มาในรูปแบบและวิธีการต่าง ๆ มากมาย เข้าไปสู่เด็กและเยาวชนในสถานศึกษาต่าง ๆ มากยิ่งขึ้น ทางโรงเรียน จึงมีความจำเป็นที่จะหาแนวทางป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดมิให้เกิดขึ้นในโรงเรียน เพื่อเป็นการสร้างภูมิคุ้มกันให้กับเยาวชนไทยส่งเสริมกิจกรรมการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดให้เกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรมจึงได้จัดทำโครงการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในโรงเรียน ประจำปี พ.ศ. 2560 ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโทษของยาเสพติด
- 2. เพื่อให้นักเรียนได้รับรู้สถานการณ์ยาเสพติดภายในชุมชนของตนเองและสังคมภายนอก และสามารถปฏิบัติตนให้ห่างไกลยาเสพติดได้
- 3. เพื่อสร้างเครือข่ายแนวร่วมเด็กและเยาวชน ในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด -
- เพื่อสร้างเครือข่ายแนวร่วมเด็กและเยาวชน ในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
50
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1 นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโทษของยาเสพติดอย่างเหมาะสม
2 ลดปัญหาการแพร่ระบาดของยาเสพติดเข้ามาในโรงเรียน นักเรียนมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหายาเสพติดและสามารถปฏิบัติตนให้ห่างไกลจากยาเสพติดได้
3 เด็กมีภูมิคุ้มกันด้านยาเสพติดและใช้เวลาว่างในการเล่นกีฬาไม่ยุ่งเกี่ยวยาเสพติด
4 เด็กนำความรู้ที่ได้รับไปถ่ายทอดความรู้ขยายผลไปยังผู้ใกล้ชิดในครอบครัว เพื่อนบ้านและชุมชนใกล้เคียง
5 คณะครูในโรงเรียน ได้ทราบข้อมูลเกี่ยวกับยาเสพติดในโรงเรียนสามารถใช้เป็นข้อมูลในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดได้อย่างเหมาะสม
6 ไดัจ่ะรูปได้ร่วมสนับสนุนนโยบายของรัฐบาลและแก้ปัญหายาเสพติดในสถานศึกษาและชุมชน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. การบรรยายให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับยาเสพติดและตระหนักถึงพิษภัยยาเสพติดที่มีผลต่อร่างกายสุขภาพอนามัยและส่งผลกระทบต่อปัญหาของสังคมตลอดความมั่นคงของชาติ
วันที่ 18 กันยายน 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
หลังจากที่จัดโครงการ การบรรยายให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับยาเสพติดและตระหนักถึงพิษภัยยาเสพติดที่มีผลต่อร่างกายสุขภาพอนามัยและส่งผลกระทบต่อปัญหาของสังคมตลอดความมั่นคงของชาติ
ได้มีกิจกรรม โดยกลุ่มแกนนำนักเรียนได้ร่วมจัดกิจกรรมส่งเสริมการเล่นกีฬา ให้ความรู้เกี่ยวกับ กฎ กติกา มารยาทการเล่นกีฬา ฝึกทักษะการเล่น และกิจกรรมการเล่นกีฬาต้านยาเสพติดในโรงเรียน
ทำกิจกรรมต่างๆร่วมกัน
อาจารย์เน้นความสามัคคีการเสียสละ และการมีส่วนร่วม เป็นการขัดเกลาจิตใจ โน้มน้าวใจเด็กให้เกิดความรักประเทศชาติรักชุมชนรักสังคม และรักตนเองและห่างไกลยาเสพติด
0
51
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลการดำเนินแผนงานจัดโครงการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในโรงเรียน โดยใช้รูปแบบการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ ซึ่งผู้เข้าร่วมโครงการ ประกอบด้วย
นักเรียนโรงเรียนบูกิตอิสลามียะห์ .จำนวนเป้าหมายเข้าร่วมโครงการที่วางไว้ 50 คน แต่มีผู้เข้าร่วม 51 คน ถือว่า ประสบผลสำเร็จ
จำนวนเป้าหมายเข้าร่วมโครงการ 50 คน แต่มีผู้เข้าร่วม 51 คน ถือว่า ประสบผลสำเร็จ
1. นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโทษของยาเสพติดอย่างเหมาะสม
2. นักเรียนตระหนักในการสอดส่องไม่ให้ยาเสพติดแพร่ระบาดเข้ามาในโรงเรียน
3. นักเรียนมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหายาเสพติด และสามารถปฏิบัติตนให้ห่างไกลยาเสพติด
4. เด็กมีภูมิคุ้มกันด้านยาเสพติด และใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ โดยการออกกำลังกาย
5. คณะครูในโรงเรียน ได้ทราบข้อมูลเกี่ยวกับยาเสพติดในโรงเรียน สามรถใช้เป็นข้อมูลในการป้องกัน และแก้ไขปัญหายาเสพติดได้อย่างเหมาะสม
6. ได้ร่วมสนับสนุนนโยบายของรัฐบาล และแก้ไขปัญหายาเสพติดในสถานศึกษาและชุมชน
2. ผลสัมฤทธิ์ตามวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
- การเบิกจ่ายงบประมาณ
งบประมาณที่ได้รับการอนุมัติ .....................10,000................. บาท
งบประมาณเบิกจ่ายจริง .....................10,000................. บาท คิดเป็นร้อยละ ...100....
งบประมาณเหลือส่งคืนกองทุนฯ ...........................-.......................บาท คิดเป็นร้อยละ ...........-..........
- ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน
ไม่มี
มี
ปัญหา/อุปสรรค (ระบุ) โรงเรียนไม่สามารถให้นักเรียนเข้าร่วมอบรมได้ทุกคน เนื่องจากงบประมาณที่จัดสรรมาไม่เพียงพอต่อจำนวนนักเรียนในโรงเรียน
แนวทางการแก้ไข (ระบุ) อยากให้มีงบประมาณในส่วนนี้เพิ่มขึ้น เพราะปัญหายาเสพติด เป็นปัญหาระดับชาติ จึงจำเป็นให้นักเรียนทุกคนได้รับความรู้ในการป้องกันยาเสพติด
ผลที่ได้
นักเรียนโรงเรียนบูกิตอิสลามียะห์ มีสุขภาพพลานามัยที่สมบูรณ์ มีจิตใจที่เข้มแข็ง ไม่ยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด และสามารถร่วมเป็นกำลังของสังคม ประเทศชาติ ในการต่อต้านยาเสพติดได้ นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโทษของยาเสพติดอย่างเหมาะสม ได้ตระหนักในการสอดส่องไม่ให้ยาเสพติดแพร่ระบาดเข้ามาในโรงเรียน มีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหายาเสพติด และสามารถปฏิบัติตนให้ห่างไกลยาเสพติด เด็กมีภูมิคุ้มกันด้านยาเสพติด และใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ โดยการออกกำลังกาย คณะครูในโรงเรียน ได้ทราบข้อมูลเกี่ยวกับยาเสพติดในโรงเรียน สามรถใช้เป็นข้อมูลในการป้องกัน และแก้ไขปัญหายาเสพติดได้อย่างเหมาะสม ได้ร่วมสนับสนุนนโยบายของรัฐบาล และแก้ไขปัญหายาเสพติดในสถานศึกษาและชุมชน
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโทษของยาเสพติด
ตัวชี้วัด :
2
2. เพื่อให้นักเรียนได้รับรู้สถานการณ์ยาเสพติดภายในชุมชนของตนเองและสังคมภายนอก และสามารถปฏิบัติตนให้ห่างไกลยาเสพติดได้
ตัวชี้วัด :
3
3. เพื่อสร้างเครือข่ายแนวร่วมเด็กและเยาวชน ในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด -
ตัวชี้วัด :
4
เพื่อสร้างเครือข่ายแนวร่วมเด็กและเยาวชน ในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด
ตัวชี้วัด :
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
50
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
50
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโทษของยาเสพติด (2) 2. เพื่อให้นักเรียนได้รับรู้สถานการณ์ยาเสพติดภายในชุมชนของตนเองและสังคมภายนอก และสามารถปฏิบัติตนให้ห่างไกลยาเสพติดได้ (3) 3. เพื่อสร้างเครือข่ายแนวร่วมเด็กและเยาวชน ในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด - (4) เพื่อสร้างเครือข่ายแนวร่วมเด็กและเยาวชน ในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในโรงเรียน รร.บูกิตอิสลามมียะห์ ประจำปี พ.ศ. 2560 จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 60-L2479-2-24
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายมะปัดรีมะนาแซ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในโรงเรียน รร.บูกิตอิสลามมียะห์ ประจำปี พ.ศ. 2560 ”
ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นายมะปัดรีมะนาแซ
กันยายน 2560
ที่อยู่ ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 60-L2479-2-24 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 30 มีนาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในโรงเรียน รร.บูกิตอิสลามมียะห์ ประจำปี พ.ศ. 2560 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในโรงเรียน รร.บูกิตอิสลามมียะห์ ประจำปี พ.ศ. 2560
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในโรงเรียน รร.บูกิตอิสลามมียะห์ ประจำปี พ.ศ. 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 60-L2479-2-24 ระยะเวลาการดำเนินงาน 30 มีนาคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ด้วยปัจจุบันสถานการณ์การแพร่ระบาดของยาเสพติด ยังคงระดับความรุนแรงอย่างต่อเนื่อง รัฐบาลจึงกำหนดให้การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด เป็นแนวนโยบายที่สำคัญและเร่งด่วนในการบริหารราชการแผ่นดิน โดยยึดหลัก“ผู้เสพ คือ ผู้ป่วยที่ต้องได้รับการบำบัดรักษา ผู้ค้า คือ ผู้ที่ต้องได้รับโทษตามกระบวนการยุติธรรม” ซึ่งกำหนดให้เร่งรัดปราบปรามการค้ายาเสพติด และป้องกันมิให้กลุ่มเสี่ยงเข้าไปเป็นเหยื่อของยาเสพติดโดยใช้กระบวนการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในสังคม ให้ร่วมดำเนินการในลักษณะแบบบูรณาการ ควบคู่กับมาตรการทางกฎหมาย ซึ่งจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของยาเสพติดในประเทศไทย พบว่า มีเด็กและเยาวชน จำนวนไม่น้อยที่เข้าไปยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด ทั้งเกิดจากความตั้งใจ และเกิดจากการหลงผิดโดยรู้เท่าไม่ถึงการณ์ อีกทั้งยังมีปัจจัยเสี่ยงต่างๆ ที่จะทำให้เด็กและเยาวชนมีโอกาสเข้าไปติดยาเสพติดเพิ่มมากขึ้นอีก เช่น เด็ก และเยาวชน เป็นวัยที่ต้องการเรียนรู้ อยากลอง ต้องการเรียกร้องความสนใจ การสร้างการยอมรับ กล้าทำ ในสิ่งท้าทาย การชักจูง และการหลอกลวงเป็นต้น ดังนั้น เด็กและเยาวชน จำเป็นต้องได้รับดูแลเอาใจใส่ อย่างเพียงพอ ต้องได้รับการถ่ายทอดความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องและการรู้โทษที่ร้ายแรงของสิ่งเสพติด อย่างเหมาะสม การรู้จักการหลีกเลี่ยงจากสิ่งเสพติด และสิ่งสำคัญคือการสร้างภูมิคุ้มกันให้กับเด็กและเยาวชนโดยผนึกกำลังทุกภาคส่วน ให้ร่วมคิด ร่วมทำร่วมรับผิดชอบ และร่วมแรงร่วมใจกันเป็นพลังของแผ่นดิน ที่จะต่อสู้เพื่อเอาชนะปัญหายาเสพติด โรงเรียนเป็นส่วนหนึ่งของชุมชนและสังคม นอกจากเป็นสถานที่ในการถ่ายทอดวิชาความรู้ด้านต่าง ๆแก่นักเรียนแล้ว ยังมีบทบาทหน้าที่และภารกิจอีกหลายด้านรวมทั้ง การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ซึ่งเป็นภารกิจที่ทุกภาคส่วนต้องดำเนินการร่วมกันและในสภาพปัจจุบันสถานการณ์การแพร่ระบาดของยาเสพติด มาในรูปแบบและวิธีการต่าง ๆ มากมาย เข้าไปสู่เด็กและเยาวชนในสถานศึกษาต่าง ๆ มากยิ่งขึ้น ทางโรงเรียน จึงมีความจำเป็นที่จะหาแนวทางป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดมิให้เกิดขึ้นในโรงเรียน เพื่อเป็นการสร้างภูมิคุ้มกันให้กับเยาวชนไทยส่งเสริมกิจกรรมการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดให้เกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรมจึงได้จัดทำโครงการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในโรงเรียน ประจำปี พ.ศ. 2560 ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโทษของยาเสพติด
- 2. เพื่อให้นักเรียนได้รับรู้สถานการณ์ยาเสพติดภายในชุมชนของตนเองและสังคมภายนอก และสามารถปฏิบัติตนให้ห่างไกลยาเสพติดได้
- 3. เพื่อสร้างเครือข่ายแนวร่วมเด็กและเยาวชน ในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด -
- เพื่อสร้างเครือข่ายแนวร่วมเด็กและเยาวชน ในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 50 | |
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1 นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโทษของยาเสพติดอย่างเหมาะสม
2 ลดปัญหาการแพร่ระบาดของยาเสพติดเข้ามาในโรงเรียน นักเรียนมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหายาเสพติดและสามารถปฏิบัติตนให้ห่างไกลจากยาเสพติดได้
3 เด็กมีภูมิคุ้มกันด้านยาเสพติดและใช้เวลาว่างในการเล่นกีฬาไม่ยุ่งเกี่ยวยาเสพติด
4 เด็กนำความรู้ที่ได้รับไปถ่ายทอดความรู้ขยายผลไปยังผู้ใกล้ชิดในครอบครัว เพื่อนบ้านและชุมชนใกล้เคียง
5 คณะครูในโรงเรียน ได้ทราบข้อมูลเกี่ยวกับยาเสพติดในโรงเรียนสามารถใช้เป็นข้อมูลในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดได้อย่างเหมาะสม
6 ไดัจ่ะรูปได้ร่วมสนับสนุนนโยบายของรัฐบาลและแก้ปัญหายาเสพติดในสถานศึกษาและชุมชน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. การบรรยายให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับยาเสพติดและตระหนักถึงพิษภัยยาเสพติดที่มีผลต่อร่างกายสุขภาพอนามัยและส่งผลกระทบต่อปัญหาของสังคมตลอดความมั่นคงของชาติ |
||
วันที่ 18 กันยายน 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นหลังจากที่จัดโครงการ การบรรยายให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับยาเสพติดและตระหนักถึงพิษภัยยาเสพติดที่มีผลต่อร่างกายสุขภาพอนามัยและส่งผลกระทบต่อปัญหาของสังคมตลอดความมั่นคงของชาติ
|
0 | 51 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลการดำเนินแผนงานจัดโครงการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในโรงเรียน โดยใช้รูปแบบการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ ซึ่งผู้เข้าร่วมโครงการ ประกอบด้วย นักเรียนโรงเรียนบูกิตอิสลามียะห์ .จำนวนเป้าหมายเข้าร่วมโครงการที่วางไว้ 50 คน แต่มีผู้เข้าร่วม 51 คน ถือว่า ประสบผลสำเร็จ
จำนวนเป้าหมายเข้าร่วมโครงการ 50 คน แต่มีผู้เข้าร่วม 51 คน ถือว่า ประสบผลสำเร็จ 1. นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโทษของยาเสพติดอย่างเหมาะสม 2. นักเรียนตระหนักในการสอดส่องไม่ให้ยาเสพติดแพร่ระบาดเข้ามาในโรงเรียน 3. นักเรียนมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหายาเสพติด และสามารถปฏิบัติตนให้ห่างไกลยาเสพติด 4. เด็กมีภูมิคุ้มกันด้านยาเสพติด และใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ โดยการออกกำลังกาย 5. คณะครูในโรงเรียน ได้ทราบข้อมูลเกี่ยวกับยาเสพติดในโรงเรียน สามรถใช้เป็นข้อมูลในการป้องกัน และแก้ไขปัญหายาเสพติดได้อย่างเหมาะสม 6. ได้ร่วมสนับสนุนนโยบายของรัฐบาล และแก้ไขปัญหายาเสพติดในสถานศึกษาและชุมชน 2. ผลสัมฤทธิ์ตามวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
- การเบิกจ่ายงบประมาณ งบประมาณที่ได้รับการอนุมัติ .....................10,000................. บาท งบประมาณเบิกจ่ายจริง .....................10,000................. บาท คิดเป็นร้อยละ ...100.... งบประมาณเหลือส่งคืนกองทุนฯ ...........................-.......................บาท คิดเป็นร้อยละ ...........-..........
- ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน ไม่มี มี ปัญหา/อุปสรรค (ระบุ) โรงเรียนไม่สามารถให้นักเรียนเข้าร่วมอบรมได้ทุกคน เนื่องจากงบประมาณที่จัดสรรมาไม่เพียงพอต่อจำนวนนักเรียนในโรงเรียน แนวทางการแก้ไข (ระบุ) อยากให้มีงบประมาณในส่วนนี้เพิ่มขึ้น เพราะปัญหายาเสพติด เป็นปัญหาระดับชาติ จึงจำเป็นให้นักเรียนทุกคนได้รับความรู้ในการป้องกันยาเสพติด
ผลที่ได้
นักเรียนโรงเรียนบูกิตอิสลามียะห์ มีสุขภาพพลานามัยที่สมบูรณ์ มีจิตใจที่เข้มแข็ง ไม่ยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด และสามารถร่วมเป็นกำลังของสังคม ประเทศชาติ ในการต่อต้านยาเสพติดได้ นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโทษของยาเสพติดอย่างเหมาะสม ได้ตระหนักในการสอดส่องไม่ให้ยาเสพติดแพร่ระบาดเข้ามาในโรงเรียน มีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหายาเสพติด และสามารถปฏิบัติตนให้ห่างไกลยาเสพติด เด็กมีภูมิคุ้มกันด้านยาเสพติด และใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ โดยการออกกำลังกาย คณะครูในโรงเรียน ได้ทราบข้อมูลเกี่ยวกับยาเสพติดในโรงเรียน สามรถใช้เป็นข้อมูลในการป้องกัน และแก้ไขปัญหายาเสพติดได้อย่างเหมาะสม ได้ร่วมสนับสนุนนโยบายของรัฐบาล และแก้ไขปัญหายาเสพติดในสถานศึกษาและชุมชน
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโทษของยาเสพติด ตัวชี้วัด : |
|
|||
2 | 2. เพื่อให้นักเรียนได้รับรู้สถานการณ์ยาเสพติดภายในชุมชนของตนเองและสังคมภายนอก และสามารถปฏิบัติตนให้ห่างไกลยาเสพติดได้ ตัวชี้วัด : |
|
|||
3 | 3. เพื่อสร้างเครือข่ายแนวร่วมเด็กและเยาวชน ในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด - ตัวชี้วัด : |
|
|||
4 | เพื่อสร้างเครือข่ายแนวร่วมเด็กและเยาวชน ในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ตัวชี้วัด : |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 50 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 50 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโทษของยาเสพติด (2) 2. เพื่อให้นักเรียนได้รับรู้สถานการณ์ยาเสพติดภายในชุมชนของตนเองและสังคมภายนอก และสามารถปฏิบัติตนให้ห่างไกลยาเสพติดได้ (3) 3. เพื่อสร้างเครือข่ายแนวร่วมเด็กและเยาวชน ในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด - (4) เพื่อสร้างเครือข่ายแนวร่วมเด็กและเยาวชน ในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในโรงเรียน รร.บูกิตอิสลามมียะห์ ประจำปี พ.ศ. 2560 จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 60-L2479-2-24
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายมะปัดรีมะนาแซ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......