กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวัง ห่วงใย ใส่ใจสุขภาพ
รหัสโครงการ 63-L5182-02-13
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ชมรม อสม.หมู่ที่ 9
วันที่อนุมัติ 19 มีนาคม 2563
ระยะเวลาดำเนินโครงการ -
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 26,980.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางทิพวัลย์ ไชยดิษฐ์
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลนาหว้า อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด 6.896,100.655place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานโรคเรื้อรัง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 120 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

บ้านควนขี้แรด หมู่ที่ 9 ตำบลนาหว้า ประกอบด้วยประชากรทั้งหมด 609 คน และกลุ่มเป้าหมายซึ่งเสี่ยงต่อโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง จำนวน 302 คน ทางชมรม อสม.บ้านควนขี้แรดได้ดำเนินการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงอายุ 35 ปีขึ้นไป เป้าหมายจำนวน 302 คน เมื่อผ่านการคัดกรองแล้ว ปรากฎว่ากลุ่มเสี่ยง 120 คน มีความจำเป็นต้องได้รับการดูแล ทำความเข้าใจในเรื่องการรับประทานอาหาร การออกกำลังกาย การปรับเปลี่ยนอารมณ์ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อจะได้เป็นการป้องกัน ไม่ให้กลุ่มเสี่ยงจำนวนนี้เกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเพิ่มจำนวนขึ้น ซึ่งจะทำให้ยากต่อการรักษา เป็นการเพิ่มภาระค่าใช้จ่ายให้เกิดกับภาครัฐ และเป็นภาวะสุขภาพที่ไม่ดีต่อผู้ป่วยและต้องเป็นภาระกับลูกหลาน ซึ่งทุกอย่างสามารถป้องกันได้เมื่อมีการอบรม รณรงค์ให้กลุ่มเสี่ยงเข้าใจและตระหนกถึงพิษภัยและภาระที่จะเกิดกับตัวเองและภาระของลูกหลานต่อไป

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคไม่ติดต่อเรื้อรังได้เข้าใจและตระหนักในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

ร้อยละ 80 ของประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจและตระหนักถึงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

90.00
2 เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพและสามารถดูแลตัวเองได้

ร้อยละ 80 ของประชาชนที่เป็นกลุ่มเสี่ยงมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพของตนเองได้อย่างเข้าใจ

90.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 120 26,980.00 1 26,980.00
7 เม.ย. 63 - 30 ก.ย. 63 อบรมให้ความรู้ 120 26,980.00 26,980.00
  1. สำรวจข้อมูล คัดกรองกลุ่มเสี่ยง จำนวน 120 คน
  2. ประชุมชี้แจงผู้ที่เกี่ยวข้องในพื้นที่หมู่บ้าน
  3. จัดทำโครงการเสนอต่อคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.นาหว้า
  4. อบรมตามโครงการที่ได้กำหนดไว้ตามกลุ่มเป้าหมาย
  5. ติดตามผลโครงการทุก 1 เดือน เป็นระยะเวลา 6 เดือน
  6. รายงานผลการดำเนินงานตามโครงการต่อกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.นาหว้า
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง จำนวน 120 คน มีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพอย่างถูกวิธี
  2. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคไม่ติดต่อเรื้อรังมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพของตัวเองและสามารถบอกต่อผู้อื่นได้
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 7 เม.ย. 2563 11:03 น.