กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการเผชิญการระบาดของโรค COVID-19
รหัสโครงการ 63-L5226-1-05
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานสาธารณสุขอื่นของ อปท. เช่น กองสาธารณสุขของเทศบาล
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลตำบลระโนด
วันที่อนุมัติ 3 เมษายน 2563
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 3 เมษายน 2563 - 30 เมษายน 2563
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2563
งบประมาณ 31,270.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางพรเพ็ญ แสงแก้ว
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลระโนด อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด 7.754,100.325place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 10 เม.ย. 2563 30 เม.ย. 2563 5,820.00
2 10 เม.ย. 2563 30 เม.ย. 2563 25,450.00
รวมงบประมาณ 31,270.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มวัยทำงาน 2000 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

จากสถานการณ์การระบาดของไวรัสโคโรนา 2019 ซึ่งมีการประกาศกระทรวงสาธารณสุขให้โรคไวรัสโคโรนา หรือ COVID-19 เป็นโรคร้ายแรง ทำให้เกิดการตื่นตระหนกของประชาชนทั่วโลก และคนไทย ซึ่งพบการระบาดไปในหลายประเทศส่งผลให้มีผู้เสียชีวิตจำนวนมาก ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจ สังคมอย่างรุ่นแรง สถานการณ์การระบาดกำลังแพร่กระจายยังไม่สามารถควบคุมได้ สาเหตุการเสียชีีวิตส่วนใหญ่ ตัวไวรัส COVID-19 จะทำให้เกิดการไข้สูง จาม ไอ การอักเสบของปอดและเยื้อหุ้มปอดอย่างรุนแรง แต่อย่างไรก็ตามอัตราการตายไม่ได้สูงมากนักเพียง 1-3% ร้ายแรงน้อยกว่า SAR ซึ่งมีอัตราการตาย 10%   ดังนั้น มาตรการการป้องกันไม่ให้ติดโรค COVID-19 นั้นถือว่าจำเป็นด้วยการดำเนินมาตรการการรักษาร่างกายให้แข็งแรง ออกกำลังกายเพื่อมิให้ป่วย การป้องกันตนเอง เช่น หลีกเลี่ยงการเดินทางไปในประเทศหรือสถานที่ที่มีคนพลุกพล่าน การล้างมือให้สะอาดอย่างถูกต้อง ทั้งด้วยแอลกอฮอล์เจล สบู่ การสวมหน้ากากอนามัยอย่างถูกวิธี การไม่นำเอามือมาป้ายหรือจับหน้า ความรู้และเข้าใจการดำเนินไปของโรคเป็นสิ่งสำคัญ

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 ข้อที่ 1 เพื่อเสริมสร้างความเข้าใจแก่ประชาชนเกี่ยวกับโคและการป้องกันโรค COVID-19
  1. ร้อยละอ70 ประชาชนมีความรู้เรื่องอาการของโรค การป้องกันโรค COVID-19
0.00
2 ข้อที่ 2 เพื่อสร้างความเข้าใจการสวมหน้ากาก การมีหน้ากากอนามัยไว้ใช้เอง
  1. ร้อยละ 100 ของประชาชนที่สามารถมีหน้ากากอนามัยใช้เอง และสามารถสวมหน้ากากถูกต้อง
0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 2000 31,270.00 0 0.00
10 - 30 เม.ย. 63 จัดทำแผ่นพับให้ความรู้ และจัดทำป้ายไวนิลให้ความรู้โรคโควิด-19 0 5,820.00 -
10 - 30 เม.ย. 63 จัดหาอุปกรณ์ในการจัดทำหน้ากากชนิดผ้า โดยทีม ครู ก. 2,000 25,450.00 -
  1. นำเสนอโครงการฯ ต่อประธานกรรมการกองทุนฯ เพื่อพิจารณาโครงการฯ ตามประกาศคณะกรรมการ สปสช. (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๖๓
  2. จัดทำเอกสารความรู้
  3. จัดหาวัสดุ อุปกรณ์เพื่อจัดทำหน้ากากอนามัยแบบผ้า
  4. ประสานทีมครู ก. เพื่อจัดทำหน้ากาก
  5. ประสาน อสม. พร้อมทีมสาธารณสุขในพื้นที่ เพื่อลงให้ความรู้และมอบหน้ากากอนามัยแบบผ้าให้แก่ประชาชน
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. ประชาชนมีความเข้าใจเรื่องโรค COVID-19
  2. ประชาชนมีพฤติกรรมที่สามารถป้องกัน COVID-19
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 7 เม.ย. 2563 15:08 น.