กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลร่มเมือง


“ โครงการเฝ้าระวังป้องกันสตรีจากมะเร็งเต้านม และมะเร็งปากมดลูก ปี 2563 ”

ตำบลร่มเมือง อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
ประธานชมรม อสม.รพ.สต.บ้านหูแร่

ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังป้องกันสตรีจากมะเร็งเต้านม และมะเร็งปากมดลูก ปี 2563

ที่อยู่ ตำบลร่มเมือง อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 63-L3360-2-08 เลขที่ข้อตกลง ...................

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2562 ถึง 30 สิงหาคม 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเฝ้าระวังป้องกันสตรีจากมะเร็งเต้านม และมะเร็งปากมดลูก ปี 2563 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลร่มเมือง อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลร่มเมือง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังป้องกันสตรีจากมะเร็งเต้านม และมะเร็งปากมดลูก ปี 2563



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเฝ้าระวังป้องกันสตรีจากมะเร็งเต้านม และมะเร็งปากมดลูก ปี 2563 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลร่มเมือง อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 63-L3360-2-08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2562 - 30 สิงหาคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 36,900.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลร่มเมือง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

มะเร็งปากมดลูกเป็นโรคมะเร็งที่พบมากเป็นอันดับ 2 ของโรคมะเร็งทั้งหมดของสตรีไทยรองจากมะเร็งเต้านม ปัจจุบันในประเทศไทยแต่ละปีจะพบผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูกรายใหม่ประมาณ 10,000 ราย และเสียชีวิตจากการเป็นมะเร็งปากมดลูก 5,000 ราย อัตราการเสียชีวิตของสตรีไทยเพิ่มขึ้นจาก 7 คน/วัน เป็น 14 คน/วัน สถิติจากสถาบันมะเร็งแห่งชาติ พบว่า ผู้ป่วยส่วนใหญ่มักจะมาพบแพทย์ เมื่อระยะของโรคมะเร็งนั้นได้เข้าสู่ในระยะลุกลามแล้ว การรักษาจึงเป็นไปได้ยาก ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการรักษาที่สูง ส่งผลกระทบทางเศรษฐกิจอันเนื่องมาจากไม่สามารถประกอบอาชีพได้ ก่อให้เกิดปัญหาด้านสังคมและครอบครัวตามมาอย่างมากมาย แต่จะสามารถป้องกันและรักษาให้หายขาดได้ถ้าพบผู้ป่วยโรคมะเร็งในระยะเริ่มแรก ร้อยละ 30-40 สามารถป้องกันได้ด้วยการลดพฤติกรรมเสี่ยง และหากได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งตั้งแต่ระยะแรก จะสามารถป้องกันและได้รับการรักษาได้ทันท่วงทีดังนั้น ถ้าสามารถกระตุ้นให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย ได้มีความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับโรคดังกล่าว พร้อมทั้งตระหนักและเห็นถึงความสำคัญของการตรวจค้นหาโรคมะเร็งปากมดลูกและโรคมะเร็งเต้านมในเริ่มแรกก็จะทำให้อัตราการเกิดโรค,อัตราการป่วยและอัตราการตายจากโรคมะเร็งลดลง   ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข รพ.สต. บ้านหูแร่ จึงได้จัดทำโครงการเฝ้าระวังป้องกันสตรีจากมะเร็งเต้านมและปากมดลูก ในปีงบประมาณ 2563 ขึ้น เพื่อติดตามการตรวจมะเร็งของประชาชนในเขตรับผิดชอบ โดยเน้นการตรวจ Pap Smear เชิงรุกค้นหาเซลล์มะเร็งได้ในระยะเริ่มแรก รวมถึงตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมเบื้องต้นด้วยตนเองเพื่อการส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรคด้วยซึ่งจะเป็นแนวทางในการสกัดโรคก่อนลุกลาม

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1 เพื่อให้ อสม และแกนนำสตรี อายุ30-70 ปี มีความรู้เรื่องมะเร็งที่ปากมดลูกและมะเร็งเต้านม
  2. 2. เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมาย ตระหนักในการตรวจมะเร็งปากมดลูกทุกปี และตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเองอย่างถูกต้อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุม รณรงค์ จัดบริการ การจัดซื้อ
  2. ออกตรวจและแนะนำการตรวจ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 300
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. อสม. และแกนนำสตรีกลุ่มเป้าหมายมีความรู้เรื่องโรคมะเร็งที่ปากมดลูก และโรคมะเร็งเต้านมได้ถูกต้องและแนะนำผู้อื่นได้
  2. อสม และสตรีกลุ่มเป้าหมายมีความตระหนักในการตรวจมะเร็งปากมดลูก และมะเร็งเต้านมด้วยตนเอง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุม รณรงค์ จัดบริการ การจัดซื้อ

วันที่ 10 สิงหาคม 2563 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.1 กิจกรรมย่อยอบรมให้ความรู้ อสม /แกนนำสตรีอายุ 30-70 ปี เรื่องมะเร็งเต้านม และมะเร็งปากมดลูกและวิธีการตรวจ จำนวน 2 รุ่น รุ่นละ 60 คน รุ่นละ 1 วัน(จำนวน 2 วัน) งบประมาณ
1.ค่าอาหารกลางวัน อสม/แกนนำสตรีอายุ30-70 ปีเข้ารับการอบรม จำนวน 4 หมู่บ้าน รวม 120 คน คนละ1 มื้อ มื้อละ 50 บาท เป็นเงิน 6,000 บาท 2.ค่าอาหารว่าง อสม/แกนนำสตรีอายุ30-70 ปีเข้ารับการอบรม จำนวน 4 หมู่บ้าน รวม 120 คน คนละ2 มื้อ มื้อละ 25 บาท เป็นเงิน 6,000 บาท 3.ค่าตอบแทนวิทยากร 2 คน จำนวน 6 ชั่วโมง ๆละ 600 บาทจำนวน 2 วัน (6×600×2=7200 ) เป็นเงิน 7,200 บาท 4.ค่าป้ายไวนิลประชาสัมพันธ์ขนาด 1.20×2 เมตร จำนวน 4 แผ่น แผ่นละ 500 บาท เป็นเงิน 2,000 บาท 5.ค่าวัสดุในการอบรมให้ความรู้ อสม/แกนนำสตรี(กระดาษ กระเป๋าใส่เอกสาร ปากกา ) จำนวน 120 คน เป็นเงิน 7,200 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. อสม. และแกนนำสตรีกลุ่มเป้าหมายมีความรู้เรื่องโรคมะเร็งที่ปากมดลูก และโรคมะเร็งเต้านมได้ถูกต้องและแนะนำผู้อื่นได้
  2. อสม และสตรีกลุ่มเป้าหมายมีความตระหนักในการตรวจมะเร็งปากมดลูก และมะเร็งเต่านมด้วยตนเอง

 

120 0

2. ออกตรวจและแนะนำการตรวจ

วันที่ 12 สิงหาคม 2563 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.2 กิจกรรมย่อยอสมและแกนนำสตรี ออกตรวจและแนะนำการตรวจเต้านมด้วยตนเองแก่สตรีอายุ 30-70 ปี จำนวน 300 คนใน 4 หมู่บ้าน เพื่อสร้างเครือข่าย งบประมาณ 1.ค่าถ่ายเอกสารให้ความรู้เรื่องตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเอง และมะเร็งปากมดลูก จำนวน 2,000 แผ่น แผ่นละ 0.50 บาท เป็นเงิน 1,000 บาท 2.ค่าอาหารว่างกลุ่มสตรี อายุ 30-70 ปีเข้ารับการแนะนำการตรวจเต้านมโดยอสม จำนวน 4 หมู่บ้าน รวม 300 คน คนละ 25 บาท จำนวน 1 มื้อ เป็นเงิน 7,500 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. อสม. และแกนนำสตรีกลุ่มเป้าหมายมีความรู้เรื่องโรคมะเร็งที่ปากมดลูก และโรคมะเร็งเต้านมได้ถูกต้องและแนะนำผู้อื่นได้
  2. อสม และสตรีกลุ่มเป้าหมายมีความตระหนักในการตรวจมะเร็งปากมดลูก และมะเร็งเต่านมด้วยตนเอง

 

300 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1 เพื่อให้ อสม และแกนนำสตรี อายุ30-70 ปี มีความรู้เรื่องมะเร็งที่ปากมดลูกและมะเร็งเต้านม
ตัวชี้วัด : 1.อสม และแกนนำสตรีกลุ่มเป้าหมายมีความรู้เรื่องโรคมะเณ้งที่ปากมดลูก และโรคมะเร็งเต้านมได้ถูกต้อง และแนะนำผู้อื่นได้ ร้อยละ 90 (จาก 120 คน=103 คน)
0.00

 

2 2. เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมาย ตระหนักในการตรวจมะเร็งปากมดลูกทุกปี และตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเองอย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : 2.อสม และสตรีกลุ่มเป้าหมายมีความตระหนักในการตรวจมะเร็งปากมดลูก ร้อยละ 30 และตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเอง ได้ถูกต้อง300 คน (ร้อยละ100 คน)
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 300
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 300
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1 เพื่อให้ อสม และแกนนำสตรี อายุ30-70 ปี มีความรู้เรื่องมะเร็งที่ปากมดลูกและมะเร็งเต้านม (2) 2. เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมาย ตระหนักในการตรวจมะเร็งปากมดลูกทุกปี และตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเองอย่างถูกต้อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุม  รณรงค์ จัดบริการ การจัดซื้อ (2) ออกตรวจและแนะนำการตรวจ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเฝ้าระวังป้องกันสตรีจากมะเร็งเต้านม และมะเร็งปากมดลูก ปี 2563 จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 63-L3360-2-08

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( ประธานชมรม อสม.รพ.สต.บ้านหูแร่ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด