โครงการ อสม.ม.9 ร่วมใจต้านภัยโรคติดเชื้อโควิด-19
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการ อสม.ม.9 ร่วมใจต้านภัยโรคติดเชื้อโควิด-19 ”
ตำบลโคกม่วง อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางกิ้มหวล นวลพันธ์
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกม่วง
มิถุนายน 2563
ชื่อโครงการ โครงการ อสม.ม.9 ร่วมใจต้านภัยโรคติดเชื้อโควิด-19
ที่อยู่ ตำบลโคกม่วง อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 63 – L5168 -5-12 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 9 เมษายน 2563 ถึง 30 มิถุนายน 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการ อสม.ม.9 ร่วมใจต้านภัยโรคติดเชื้อโควิด-19 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโคกม่วง อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกม่วง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการ อสม.ม.9 ร่วมใจต้านภัยโรคติดเชื้อโควิด-19
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการ อสม.ม.9 ร่วมใจต้านภัยโรคติดเชื้อโควิด-19 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโคกม่วง อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 63 – L5168 -5-12 ระยะเวลาการดำเนินงาน 9 เมษายน 2563 - 30 มิถุนายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 7,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกม่วง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สาธารณภัย ตามความหมายในพระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. 2550 มาตรา 4 หมายถึง อัคคีภัย วาตภัย อุทกภัย ภัยแล้ง โรคระบาดในมนุษย์ โรคระบาดสัตว์ โรคระบาดสัตว์น้ำ การระบาดของศัตรูพืช ตลอดจนภัยอื่นๆ อันมีผลกระทบต่อสาธารณชน ไม่ว่าเกิดจากธรรมชาติมีผู้ทำให้เกิดขึ้น อุบัติเหตุ หรือเหตุอื่นใด ซึ่งก่อให้เกิดอันตรายแก่ชีวิต ร่างกายของประชาชน หรือความเสียหายแก่ทรัพย์สินของประชาชน หรือของรัฐ และให้หมายความรวมถึง ภัยทางอากาศ และการก่อวินาศกรรมด้วยองค์การอนามัยโลก (2002) ได้ให้ความหมายของสาธารณภัยว่า หมายถึง เหตุการณ์ใดๆ ที่ก่อให้เกิดความเสียหาย การทำลายสิ่งแวดล้อม การสูญเสียชีวิตหรือความต้องการบริการด้านสุขภาพที่เกินขีดความสามารถของหน่วยงานที่มีอยู่ในพื้นที่ประสบภัย และจำเป็นต้องขอความช่วยเหลือจากหน่วยงานภายนอกพื้นที่ สมโภช รติโอฬาร และสุดาว เลิศวิสุทธิไพบูลย์ (2553: 26-27) ให้ความหมายของสาธารณภัย ไว้ว่า สาธารณภัย หมายถึง ภัยหรืออันตรายที่ทำให้เกิดความสูญเสียทั้งมนุษย์ ทรัพย์สินและสิ่งอื่นๆ อย่างรุนแรง และส่งผลกระทบต่อประชาชนเป็นจำนวนมาก และเกินขีดความสามารถของหน่วยบริการด้านสวัสดิภาพทางสังคม ในพื้นที่นั้นๆในการดำเนินการระงับและแก้ไขภัยนั้นได้โดยลำพัง สำนักงานเพื่อลดความเสี่ยงจากภัยพิบัติ องค์การสหประชาชาติ (2012) ให้ความหมายของสาธารณภัย ว่า หมายถึง เหตุการณ์ขั้นวิกฤติที่เกิดขึ้นอย่างกว้างขวางซึ่งไม่สามารถแก้ไขหรือป้องกัน ได้ด้วยวิธีการปกติและต้องใช้กระบวนการพิเศษในการฟื้นฟูเพื่อ ให้กลับคืนสู่สภาพปกติ สาธารณภัยอาจเกิดขึ้นโดยไม่สามารถคาดเดาถึงเวลา สถานที่ หรือความรุนแรงของเหตุการณ์ หรืออาจสามารถคาดเดาเวลา สถานที่และความรุนแรงของเหตุการณ์ได้ โดยใช้เครื่องมือทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเข้ามาร่วมในการทำนาย เพื่อลดผลกระทบที่จะเกิดขึ้นจากความเสียหายในชีวิตและทรัพย์สิน แต่ไม่สามารถลดความรุนแรงของภัยนั้นๆ ได้สรุปได้ว่า สาธารณภัย หมายถึง เหตุการณ์ใดๆ ที่ไม่สามารถคาดการณ์สถานที่ เวลา และความรุนแรงได้แน่นอนและเมื่อเกิดขึ้นแล้วจะก่อให้เกิดผลกระทบต่อชีวิตและทรัพย์สินในวงกว้าง และเหตุการณ์ดังกล่าวไม่สามารถแก้ไขและป้องกันได้ โดยหน่วยงานในพื้นที่หรือวิธีการปกติ ต้องใช้วิธีการพิเศษและบูรณาการการทำงานของหน่วยงานในการฟื้นฟูเพื่อให้กลับสู่สภาพเดิม สาธารณภัยไม่สามารถลดความรุนแรงได้ แต่สามารถใช้ความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีร่วมในการทำนาย เพื่อป้องกันและลดผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากสาธารณภัยนั้นๆ ได้
ดังนั้นเพื่อเป็นการแก้ปัญหาป้องกันกรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติ อย่างมีประสิทธิภาพและรวดเร็ว ทันต่อสถานการณ์ จึงได้จัดให้มีโครงการดังกล่าว ขึ้น
จากสถานการณ์การระบาดของไวรัสโควิด 2019 ซึ่งมีการประกาศกระทรวงสาธารณสุขให้ โรคไวรัสโคโรนา หรือ COVID-19 เป็นโรคร้ายแรง ทำให้เกิดการตื่นตระหนกของประชาชนทั่วโลกและคนไทย ซึ่งพบการระบาดไปในหลายประเทศส่งผลให้มีผู้เสียชีวิตจำนวนมาก ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจสังคมอย่างรุนแรง สถานการณ์การระบาดกำลังแพร่กระจายยังไม่สามารถควบคุมได้ สาเหตุการเสียชีวิตส่วนใหญ่ เชื้อไวรัส COVID-19 จะทำให้เกิดการไข้สูง จาม ไอ การอักเสบของปอดและเยื้อหุ้มปอดอย่างรุนแรนแรง ซึ่งปัจจุบันที่ในพื้นที่ตำบลโคกม่วง มีผู้ที่กลับมาจากกรุงเทพและปริมณฑลหลายรายและถือเป็นกลุ่มเสี่ยงที่ควรเฝ้าระวัง อีกทั้งในพื้นที่อำเภอคลองหอยโข่ง มีผู้ป่วยยืนยันเกิดขึ้นแล้ว ดังนั้นเพื่อเป็นการเฝ้าระวังและควบคุมการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา2019 (โควิด-19) จึงจำเป็นต้องดำเนินโครงการ อสม.ม.9 ร่วมใจต้านภัยโรติดเชื้อโควิด-19 ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ในการป้องกันตนเองมากขึ้น
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1. ประชุมคณะทำงาน จำนวน 3 ครั้ง
- กิจกรรมคัดกรอง
- กิจกรรมรณรงค์ป้องกันฯ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชาชนมีความรู้ในการป้องกันตนเองมากขึ้น
- ลดการแพร่ระบาดโรคติดเชื้อโควิด-19
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. 1. ประชุมคณะทำงาน จำนวน 3 ครั้ง
วันที่ 14 เมษายน 2563กิจกรรมที่ทำ
ประชุมคณะทำงาน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
.
14
0
2. กิจกรรมรณรงค์ป้องกันฯ
วันที่ 23 เมษายน 2563กิจกรรมที่ทำ
.
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
.
18
0
3. กิจกรรมคัดกรอง
วันที่ 21 สิงหาคม 2563กิจกรรมที่ทำ
.
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
.
800
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ในการป้องกันตนเองมากขึ้น
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของครัวเรือนเกิดความรู้ สามารถปฏิบัติตนเพื่อป้องกันตนเองได้
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ในการป้องกันตนเองมากขึ้น
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. ประชุมคณะทำงาน จำนวน 3 ครั้ง (2) กิจกรรมคัดกรอง (3) กิจกรรมรณรงค์ป้องกันฯ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการ อสม.ม.9 ร่วมใจต้านภัยโรคติดเชื้อโควิด-19 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 63 – L5168 -5-12
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางกิ้มหวล นวลพันธ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการ อสม.ม.9 ร่วมใจต้านภัยโรคติดเชื้อโควิด-19 ”
ตำบลโคกม่วง อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางกิ้มหวล นวลพันธ์
มิถุนายน 2563
ที่อยู่ ตำบลโคกม่วง อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 63 – L5168 -5-12 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 9 เมษายน 2563 ถึง 30 มิถุนายน 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการ อสม.ม.9 ร่วมใจต้านภัยโรคติดเชื้อโควิด-19 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโคกม่วง อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกม่วง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการ อสม.ม.9 ร่วมใจต้านภัยโรคติดเชื้อโควิด-19
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการ อสม.ม.9 ร่วมใจต้านภัยโรคติดเชื้อโควิด-19 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโคกม่วง อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 63 – L5168 -5-12 ระยะเวลาการดำเนินงาน 9 เมษายน 2563 - 30 มิถุนายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 7,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกม่วง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สาธารณภัย ตามความหมายในพระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. 2550 มาตรา 4 หมายถึง อัคคีภัย วาตภัย อุทกภัย ภัยแล้ง โรคระบาดในมนุษย์ โรคระบาดสัตว์ โรคระบาดสัตว์น้ำ การระบาดของศัตรูพืช ตลอดจนภัยอื่นๆ อันมีผลกระทบต่อสาธารณชน ไม่ว่าเกิดจากธรรมชาติมีผู้ทำให้เกิดขึ้น อุบัติเหตุ หรือเหตุอื่นใด ซึ่งก่อให้เกิดอันตรายแก่ชีวิต ร่างกายของประชาชน หรือความเสียหายแก่ทรัพย์สินของประชาชน หรือของรัฐ และให้หมายความรวมถึง ภัยทางอากาศ และการก่อวินาศกรรมด้วยองค์การอนามัยโลก (2002) ได้ให้ความหมายของสาธารณภัยว่า หมายถึง เหตุการณ์ใดๆ ที่ก่อให้เกิดความเสียหาย การทำลายสิ่งแวดล้อม การสูญเสียชีวิตหรือความต้องการบริการด้านสุขภาพที่เกินขีดความสามารถของหน่วยงานที่มีอยู่ในพื้นที่ประสบภัย และจำเป็นต้องขอความช่วยเหลือจากหน่วยงานภายนอกพื้นที่ สมโภช รติโอฬาร และสุดาว เลิศวิสุทธิไพบูลย์ (2553: 26-27) ให้ความหมายของสาธารณภัย ไว้ว่า สาธารณภัย หมายถึง ภัยหรืออันตรายที่ทำให้เกิดความสูญเสียทั้งมนุษย์ ทรัพย์สินและสิ่งอื่นๆ อย่างรุนแรง และส่งผลกระทบต่อประชาชนเป็นจำนวนมาก และเกินขีดความสามารถของหน่วยบริการด้านสวัสดิภาพทางสังคม ในพื้นที่นั้นๆในการดำเนินการระงับและแก้ไขภัยนั้นได้โดยลำพัง สำนักงานเพื่อลดความเสี่ยงจากภัยพิบัติ องค์การสหประชาชาติ (2012) ให้ความหมายของสาธารณภัย ว่า หมายถึง เหตุการณ์ขั้นวิกฤติที่เกิดขึ้นอย่างกว้างขวางซึ่งไม่สามารถแก้ไขหรือป้องกัน ได้ด้วยวิธีการปกติและต้องใช้กระบวนการพิเศษในการฟื้นฟูเพื่อ ให้กลับคืนสู่สภาพปกติ สาธารณภัยอาจเกิดขึ้นโดยไม่สามารถคาดเดาถึงเวลา สถานที่ หรือความรุนแรงของเหตุการณ์ หรืออาจสามารถคาดเดาเวลา สถานที่และความรุนแรงของเหตุการณ์ได้ โดยใช้เครื่องมือทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเข้ามาร่วมในการทำนาย เพื่อลดผลกระทบที่จะเกิดขึ้นจากความเสียหายในชีวิตและทรัพย์สิน แต่ไม่สามารถลดความรุนแรงของภัยนั้นๆ ได้สรุปได้ว่า สาธารณภัย หมายถึง เหตุการณ์ใดๆ ที่ไม่สามารถคาดการณ์สถานที่ เวลา และความรุนแรงได้แน่นอนและเมื่อเกิดขึ้นแล้วจะก่อให้เกิดผลกระทบต่อชีวิตและทรัพย์สินในวงกว้าง และเหตุการณ์ดังกล่าวไม่สามารถแก้ไขและป้องกันได้ โดยหน่วยงานในพื้นที่หรือวิธีการปกติ ต้องใช้วิธีการพิเศษและบูรณาการการทำงานของหน่วยงานในการฟื้นฟูเพื่อให้กลับสู่สภาพเดิม สาธารณภัยไม่สามารถลดความรุนแรงได้ แต่สามารถใช้ความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีร่วมในการทำนาย เพื่อป้องกันและลดผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากสาธารณภัยนั้นๆ ได้ ดังนั้นเพื่อเป็นการแก้ปัญหาป้องกันกรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติ อย่างมีประสิทธิภาพและรวดเร็ว ทันต่อสถานการณ์ จึงได้จัดให้มีโครงการดังกล่าว ขึ้น จากสถานการณ์การระบาดของไวรัสโควิด 2019 ซึ่งมีการประกาศกระทรวงสาธารณสุขให้ โรคไวรัสโคโรนา หรือ COVID-19 เป็นโรคร้ายแรง ทำให้เกิดการตื่นตระหนกของประชาชนทั่วโลกและคนไทย ซึ่งพบการระบาดไปในหลายประเทศส่งผลให้มีผู้เสียชีวิตจำนวนมาก ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจสังคมอย่างรุนแรง สถานการณ์การระบาดกำลังแพร่กระจายยังไม่สามารถควบคุมได้ สาเหตุการเสียชีวิตส่วนใหญ่ เชื้อไวรัส COVID-19 จะทำให้เกิดการไข้สูง จาม ไอ การอักเสบของปอดและเยื้อหุ้มปอดอย่างรุนแรนแรง ซึ่งปัจจุบันที่ในพื้นที่ตำบลโคกม่วง มีผู้ที่กลับมาจากกรุงเทพและปริมณฑลหลายรายและถือเป็นกลุ่มเสี่ยงที่ควรเฝ้าระวัง อีกทั้งในพื้นที่อำเภอคลองหอยโข่ง มีผู้ป่วยยืนยันเกิดขึ้นแล้ว ดังนั้นเพื่อเป็นการเฝ้าระวังและควบคุมการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา2019 (โควิด-19) จึงจำเป็นต้องดำเนินโครงการ อสม.ม.9 ร่วมใจต้านภัยโรติดเชื้อโควิด-19 ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ในการป้องกันตนเองมากขึ้น
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1. ประชุมคณะทำงาน จำนวน 3 ครั้ง
- กิจกรรมคัดกรอง
- กิจกรรมรณรงค์ป้องกันฯ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชาชนมีความรู้ในการป้องกันตนเองมากขึ้น
- ลดการแพร่ระบาดโรคติดเชื้อโควิด-19
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. 1. ประชุมคณะทำงาน จำนวน 3 ครั้ง |
||
วันที่ 14 เมษายน 2563กิจกรรมที่ทำประชุมคณะทำงาน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น.
|
14 | 0 |
2. กิจกรรมรณรงค์ป้องกันฯ |
||
วันที่ 23 เมษายน 2563กิจกรรมที่ทำ. ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น.
|
18 | 0 |
3. กิจกรรมคัดกรอง |
||
วันที่ 21 สิงหาคม 2563กิจกรรมที่ทำ. ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น.
|
800 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ในการป้องกันตนเองมากขึ้น ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของครัวเรือนเกิดความรู้ สามารถปฏิบัติตนเพื่อป้องกันตนเองได้ |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ในการป้องกันตนเองมากขึ้น
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. ประชุมคณะทำงาน จำนวน 3 ครั้ง (2) กิจกรรมคัดกรอง (3) กิจกรรมรณรงค์ป้องกันฯ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการ อสม.ม.9 ร่วมใจต้านภัยโรคติดเชื้อโควิด-19 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 63 – L5168 -5-12
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางกิ้มหวล นวลพันธ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......