กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการควบคุมป้องกันโรคไข้มาลาเรียตำบลจะแหน อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา กิจกรรมพ่นสารเคมีตกค้าง ปี 2560
รหัสโครงการ
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ รพ.สต.วังโอ๊ะ ตำบลจะแหน อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา
วันที่อนุมัติ 1 ตุลาคม 2545
ระยะเวลาดำเนินโครงการ -
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 90,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ รพ.สต.วังโอ๊ะ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลจะแหน อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด 6.517,100.962place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 5 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

ระบุ

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

จากการรายงานสถานการณ์ของโรคไข้มาลาเรีย อำเภอสะบ้าย้อย ของหน่วยควบคุมโรคติดต่อที่นำโดยแมลงที่ 7 อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2559 ถึง 25 ธันวาคม 2559พบผู้ป่วยทั้งคนไทยและชาวต่างชาติ รวมทั้งสิ้น จำนวน 334 ซึ่งรายชื่อในพื้นที่ตำบลจะแหน ได้พบผู้ป่วย จำนวน 141 ราย การควบคุมการระบาด มีความสำคัญอย่างยิ่งสำหรับสถานการณ์ปัจจุบันโดยเฉพาะพื้นที่แพร่เชื้อ มีการพบผู้ป่วยเพ่ิมสูงขึ้นผิดปกติ

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อดำเนินการควบคุม ป้องกันและรักษาโรคให้มีประสิทธิภาพ โดยประชาชนในพื้นที่เสี่ยงมีและใช้มุ้ง 2.เพื่อค้นหาผู้ป่วยรายใหม่ ที่เสี่ยงต่อการเกิดโรคไข้มาลาเรียได้ทันท่วงที 3.เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้มาลาเรีย

 

stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม

การดำเนินงานควบคุมโรคโดยการพ่นสารเคมีตกค้าง มีการจ้างพนักงานพ่นในพื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดโรค จำนวน 9 คน แบ่งเป็น 3 ทีม ตำบลจะแหน หมู่ที่ 1,2,3 จำนวนบ้าน 870 หลัง ครอบคลุมประชากร 5,048 คน

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชนได้รับการเจาะโลหิตเพื่อการรักษา ได้อย่างทันเวลา 2.อัตราป่วยด้วยโรคไข้มาลาเรีย ลดลง จากปี 2559 ร้อยละ 20 3.ประชาชนมีความรู้เรื่องการควบคุมและป้องกันโรคไข้มาลาเรียเพิ่มขึ้น 4.โรงเรียนและชุมชนเกิดความตระหนักและเกิดความร่วมมือร่วมใจในการป้องกันและควบคุมโรคไข้มาลาเรีย 5.ลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้มาลาเรีย

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 7 ธ.ค. 2559 12:03 น.