กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการอบรมป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในเยาวชนหมู่ ที่ 5 ”
ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส



หัวหน้าโครงการ
นายซานูซีบูล๊ะ




ชื่อโครงการ โครงการอบรมป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในเยาวชนหมู่ ที่ 5

ที่อยู่ ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 60-L2479-2-23 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2560 ถึง 30 กันยายน 2560

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอบรมป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในเยาวชนหมู่ ที่ 5 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในเยาวชนหมู่ ที่ 5



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอบรมป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในเยาวชนหมู่ ที่ 5 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 60-L2479-2-23 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 50,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ด้วยปัจจุบันสถานการณ์การแพร่ระบาดของยาเสพติด ยังคงระดับความรุนแรงอย่างต่อเนื่อง รัฐบาลจึงกำหนดให้การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด เป็นแนวนโยบายที่สำคัญและเร่งด่วนในการบริหารราชการแผ่นดิน โดยยึดหลัก“ผู้เสพ คือ ผู้ป่วยที่ต้องได้รับการบำบัดรักษา ผู้ค้า คือ ผู้ที่ต้องได้รับโทษตามกระบวนการยุติธรรม” ซึ่งกำหนดให้เร่งรัดปราบปรามการค้ายาเสพติด และป้องกันมิให้กลุ่มเสี่ยงเข้าไปเป็นเหยื่อของยาเสพติดโดยใช้กระบวนการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในสังคม ให้ร่วมดำเนินการในลักษณะแบบบูรณาการ ควบคู่กับมาตรการทางกฎหมาย ซึ่งจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของยาเสพติดในประเทศไทย พบว่า มีเด็กและเยาวชน จำนวนไม่น้อยที่เข้าไปยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด ทั้งเกิดจากความตั้งใจ และเกิดจากการหลงผิดโดยรู้เท่าไม่ถึงการณ์ อีกทั้งยังมีปัจจัยเสี่ยงต่างๆ ที่จะทำให้เด็กและเยาวชนมีโอกาสเข้าไปติดยาเสพติดเพิ่มมากขึ้นอีก เช่น เด็ก และเยาวชน เป็นวัยที่ต้องการเรียนรู้ อยากลอง ต้องการเรียกร้องความสนใจ การสร้างการยอมรับ กล้าทำ ในสิ่งท้าทาย การชักจูง และการหลอกลวงเป็นต้น ดังนั้น เด็กและเยาวชน จำเป็นต้องได้รับดูแลเอาใจใส่ อย่างเพียงพอ ต้องได้รับการถ่ายทอดความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องและการรู้โทษที่ร้ายแรงของสิ่งเสพติด อย่างเหมาะสม ชุมชนและสิ่งแวดล้อมรอบๆที่ดีย่อมเป็นองค์ประกอบหลักที่สำคัญ ที่สอนให้เยาวชนรู้จักการหลีกเลี่ยงจากสิ่งเสพติด และสิ่งสำคัญคือการสร้างภูมิคุ้มกันให้กับเด็กและเยาวชนโดยผนึกกำลังทุกภาคส่วน ให้ร่วมคิด ร่วมทำร่วมรับผิดชอบ และร่วมแรงร่วมใจกันเป็นพลังของแผ่นดิน ที่จะต่อสู้เพื่อเอาชนะปัญหายาเสพติด กลุ่มยาลันนันบารู ตำบลบูกิต เป็นส่วนหนึ่งของชุมชนและสังคม นอกจากเป็นสถานที่ในการถ่ายทอดวิชาความรู้ด้านต่าง ๆแก่เยาวชนแล้ว ยังมีบทบาทหน้าที่และภารกิจอีกหลายด้านรวมทั้ง การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ซึ่งเป็นภารกิจที่ทุกภาคส่วนต้องดำเนินการร่วมกันและในสภาพปัจจุบันสถานการณ์การแพร่ระบาดของยาเสพติด มาในรูปแบบและวิธีการต่าง ๆ มากมาย เข้าไปสู่เด็กและเยาวชนในสถานศึกษาต่าง ๆ มากยิ่งขึ้น ทางกลุ่มยาลันนันบารู ตำบลบูกิต จึงมีความจำเป็นที่จะหาแนวทางป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดมิให้เกิดขึ้นในชุมชน เพื่อเป็นการสร้างภูมิคุ้มกันให้กับเยาวชนไทยส่งเสริมกิจกรรมการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดให้เกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรมจึงได้จัดทำโครงการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในเยาวชนหมู่ที่ 5ตำบลบูกิต ประจำปี พ.ศ. 2560 ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้เยาวชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโทษของยาเสพติด
  2. เพื่อให้เยาวชนได้รับรู้สถานการณ์ยาเสพติดภายในชุมชนของตนเองและสังคมภายนอก และสามารถปฏิบัติตนให้ห่างไกลยาเสพติดได้
  3. เพื่อสร้างเครือข่ายแนวร่วมเด็กและเยาวชน ในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด
  4. เพื่อสนับสนุนนโยบายการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดของรัฐบาลตัวชี้วัดความสำเร็จ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 250
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    6.1 เยาชนในหมู่ที่ 5 มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโทษของยาเสพติดอย่างเหมาะสม
    6.2 ลดปัญหาการแพร่ระบาดของยาเสพติดเข้ามาในชุมชนหมู่ที่ 5 เยาชนมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหายาเสพติดและสามารถปฏิบัติตนให้ห่างไกลจากยาเสพติดได้ 6.3 เยาชนมีภูมิคุ้มกันด้านยาเสพติดและใช้เวลาว่างในการเล่นกีฬาไม่ยุ่งเกี่ยวยาเสพติด 6.4 เยาชนนำความรู้ที่ได้รับไปถ่ายทอดความรู้ขยายผลไปยังผู้ใกล้ชิดในครอบครัว เพื่อนบ้านและชุมชนใกล้เคียง 6.5 ผู้นำชุมชน ได้ทราบข้อมูลเกี่ยวกับยาเสพติดในชุมชน สามารถใช้เป็นข้อมูลในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดได้อย่างเหมาะสม 6.6 ได้ร่วมสนับสนุนนโยบายของรัฐบาลและแก้ปัญหายาเสพติดในชุมชน


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. อบรมให้ความรู้ตามรูปแบบกิจกรรม

    วันที่ 25 กันยายน 2560 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.เยาชนในหมู่ที่ 5 มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโทษของยาเสพติดอย่างเหมาะสม
    2.ลดปัญหาการแพร่ระบาดของยาเสพติดเข้ามาในชุมชนหมู่ที่ 5 เยาชนมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหายาเสพติด  และสามารถปฏิบัติตนให้ห่างไกลจากยาเสพติดได้ 3.เยาชนมีภูมิคุ้มกันด้านยาเสพติดและใช้เวลาว่างในการเล่นกีฬาไม่ยุ่งเกี่ยวยาเสพติด 4.เยาชนนำความรู้ที่ได้รับไปถ่ายทอดความรู้ขยายผลไปยังผู้ใกล้ชิดในครอบครัว เพื่อนบ้าน  และชุมชนใกล้เคียง 5.ผู้นำชุมชน ได้ทราบข้อมูลเกี่ยวกับยาเสพติดในชุมชน สามารถใช้เป็นข้อมูลในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดได้อย่างเหมาะสม
    6.ได้ร่วมสนับสนุนนโยบายของรัฐบาลและแก้ปัญหายาเสพติดในชุมชน

     

    250 250

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    ผลการดำเนินงาน หน่วยงานที่รับผิดชอบ ชมรมญาลันนันบารูบ้าน สะเตียร์ 5
    ผู้รับผิดชอบโครงการ นายซานูซี  บูล๊ะ วันที่จัดกิจกรรม วันที่  24-25  เดือน กันยายน  พ.ศ. 2560
    สถานที่จัดกิจกรรม         โรงเรียนตาดีกาบ้านไอสะเตียร์ - กลุ่มเป้าหมาย เยาวชน  250 คน 
    จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ รวมทั้งสิ้น  250 คน คิดเป็นร้อยละ 100 ผลที่ได้จาการทำโครงการ 1.เยาชนในหมู่ที่ 5 มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโทษของยาเสพติดอย่างเหมาะสม
    2.ลดปัญหาการแพร่ระบาดของยาเสพติดเข้ามาในชุมชนหมู่ที่ 5 เยาชนมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหายาเสพติด  และสามารถปฏิบัติตนให้ห่างไกลจากยาเสพติดได้ 3.เยาชนมีภูมิคุ้มกันด้านยาเสพติดและใช้เวลาว่างในการเล่นกีฬาไม่ยุ่งเกี่ยวยาเสพติด 4.เยาชนนำความรู้ที่ได้รับไปถ่ายทอดความรู้ขยายผลไปยังผู้ใกล้ชิดในครอบครัว เพื่อนบ้าน  และชุมชนใกล้เคียง 5.ผู้นำชุมชน ได้ทราบข้อมูลเกี่ยวกับยาเสพติดในชุมชน สามารถใช้เป็นข้อมูลในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดได้อย่างเหมาะสม
    6.ได้ร่วมสนับสนุนนโยบายของรัฐบาลและแก้ปัญหายาเสพติดในชุมชน

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้เยาวชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโทษของยาเสพติด
    ตัวชี้วัด :

     

    2 เพื่อให้เยาวชนได้รับรู้สถานการณ์ยาเสพติดภายในชุมชนของตนเองและสังคมภายนอก และสามารถปฏิบัติตนให้ห่างไกลยาเสพติดได้
    ตัวชี้วัด :

     

    3 เพื่อสร้างเครือข่ายแนวร่วมเด็กและเยาวชน ในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด
    ตัวชี้วัด :

     

    4 เพื่อสนับสนุนนโยบายการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดของรัฐบาลตัวชี้วัดความสำเร็จ
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 250
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 250
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เยาวชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโทษของยาเสพติด (2) เพื่อให้เยาวชนได้รับรู้สถานการณ์ยาเสพติดภายในชุมชนของตนเองและสังคมภายนอก และสามารถปฏิบัติตนให้ห่างไกลยาเสพติดได้ (3) เพื่อสร้างเครือข่ายแนวร่วมเด็กและเยาวชน ในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด (4) เพื่อสนับสนุนนโยบายการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดของรัฐบาลตัวชี้วัดความสำเร็จ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการอบรมป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในเยาวชนหมู่ ที่ 5 จังหวัด นราธิวาส

    รหัสโครงการ 60-L2479-2-23

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายซานูซีบูล๊ะ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด