กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกหล่อ


“ โครงการรณรงค์ป้องกันไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19) ในเชิงรุก ”

ตำบลโคกหล่อ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นายคณพศ ศรีประภา

ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์ป้องกันไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19) ในเชิงรุก

ที่อยู่ ตำบลโคกหล่อ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 2563 – L1490 – 5 – 2 เลขที่ข้อตกลง 9/2563

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 20 มีนาคม 2563 ถึง 30 เมษายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการรณรงค์ป้องกันไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19) ในเชิงรุก จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโคกหล่อ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกหล่อ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์ป้องกันไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19) ในเชิงรุก



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการรณรงค์ป้องกันไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19) ในเชิงรุก " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโคกหล่อ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 2563 – L1490 – 5 – 2 ระยะเวลาการดำเนินงาน 20 มีนาคม 2563 - 30 เมษายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,050.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกหล่อ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

องค์การอนามัยโลกได้ประกาศให้การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เป็น “ภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุขระหว่างประเทศ” เนื่องจากเชื้อไวรัสดังกล่าวได้มีการแพร่ระบาด ไปยังประเทศต่างๆ ทั่วโลกอย่างรวดเร็ว และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขได้ประกาศให้โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือโรคโควิด 19 (COVID-19) เป็นโรคติดต่ออันตรายตามพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ.2558 เพื่อประโยชน์ในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่ออันตราย ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่องชื่อ และอาการสำคัญของโรคติดต่ออันตราย (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2563 เมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2563
      ตามอำนาจหน้าที่ตามพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 และที่แก้ไขเพิ่มเติม มาตรา 50 (4) เทศบาลตำบลมีหน้าที่ในการป้องกันโรคและระงับโรคติดต่อ พระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 มาตรา 16 (19) เทศบาลตำบล มีอำนาจหน้าที่ในการสาธารณสุข การอนามัยครอบครัวและการรักษาพยาบาล ปัจจุบันการระบาดของโรคไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19) ได้มีการแพร่กระจายไปทั่วโลก ในหลายๆประเทศรวมถึงประเทศไทย ที่ขณะนี้พบผู้ป่วยยืนยันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 จำนวน 827 ราย รักษาหายแพทย์ให้กลับบ้าน 68 ราย ผู้ป่วยยืนยันที่เสียชีวิต 4 ราย ผลตรวจผู้ป่วยที่มีอาการตามนิยามเฝ้าระวังที่เหลือ 12,200 ราย ตรวจไม่พบเชื้อ 7,446 ราย และอยู่ระหว่างรอผลตรวจทางห้องปฎิบัติการ 4,754 ราย (ข้อมูล ณ วันที่ 24 มีนาคม 2563) จังหวัดตรัง พบผู้ป่วยยืนยันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 จำนวน 1 ราย ในพื้นที่ตำบลบ้านโพธิ์ อำเภอเมือง อีกทั้งขณะนี้ วัสดุ และอุปกรณ์ เช่น หน้ากากอนามัย เจลแอลกอฮอล์ล้างมือ ซึ่งใช้ในการควบคุมและป้องกันโรค ดังกล่าวก็ค่อนข้างหายากมาก เพื่อลดความวิตกกังวล จึงจำเป็นที่ต้องให้ประชาชน ทราบวิธีการดูแลเฝ้าระวังป้องกันตนเอง เรื่องโรคโคโรนา (2019 COVID-19) ให้กับประชาชนในพื้นที่ เพื่อลดผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชน ตลอดจนป้องกันไม่ให้เกิดการแพร่ระบาดของโรคในวงกว้างทั้งนี้ ตำบลโคกหล่อ อำเภอเมือง จังหวัดตรัง ซึ่งเป็นเมืองท่องเที่ยวมีประชาชนที่เดินทางมาจากต่างจังหวัด และชาวโคกหล่อเดินทางกลับมาจากพื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดโรค ต้องมีการเฝ้าระวังโรค ทั้งนี้ การเฝ้าระวังป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COID-19) จำเป็นต้องมีการดำเนินการลงพื้นที่ที่สำรวจกลุ่มเป้าหมาย ให้ความรู้ คำแนะนำ การดูแลเฝ้าระวังป้องกันตนเองให้กับประชาชนในเขตพื้นที่ได้แก่ ชุมชน สถานศึกษา ศูนย์เด็กเล็ก หน่วยงานราชการ และบริการสาธารณะต่างๆเขตในพื้นที่ตำบลโคกหล่อ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง จึงต้องมีการป้องกันและควบคุมสถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19) ให้ทันต่อสถานการณ์ เพื่อลดอัตราการป่วยและตายของประชาชน ตลอดจนป้องกันไม่ให้เกิดการแพร่ระบาดของโรคในวงกว้างต่อไป ซึ่งการดำเนินงานเฝ้าระวังและป้องกันโรค ขาดวัสดุและครุภัณฑ์ทางการแพทย์ ในการควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลตำบลโคกหล่อ จึงได้จัดทำโครงการรณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19) ในเชิงรุก ปี 2563 ขึ้น เพื่อขอความร่วมมือและกระตุ้นให้ประชาชนร่วมกันรณรงค์การป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19) ตลอดจนการจัดหาวัสดุและครุภัณฑ์ ในการควบคุมโรคให้กับประชาชนในพื้นที่เพื่อลดอัตราการป่วยตายของประชาชน ตลอดจนป้องกันไม่ให้เกิดการแพร่ระบาดของโรคในวงกว้างต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อขอความร่วมมือประชาชนในการป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19) 2. เพื่อสร้างความตระหนักให้แก่ประชาชนในการเฝ้าระวังและป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
  2. 3. เพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) 4. เพื่อลดภาระค่าใช้จ่ายของราชการ ในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ให้แก่ประชาชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. การจัดคาราวานรณรงค์ประชาสัมพันธ์การป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในพื้นที่ตำบลโคกหล่อ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 13,011
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนให้ความร่วมมือในการป้องกันโรค

  2. ประชาชนตระหนักและให้ความสำคัญ ในการป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

3 ลดอัตราการป่วยและตายจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อขอความร่วมมือประชาชนในการป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19) 2. เพื่อสร้างความตระหนักให้แก่ประชาชนในการเฝ้าระวังและป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
ตัวชี้วัด : ประชาชนตระหนักในการเฝ้าระวัง และป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
1.00

 

2 3. เพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) 4. เพื่อลดภาระค่าใช้จ่ายของราชการ ในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ให้แก่ประชาชน
ตัวชี้วัด : การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในพื้นที่ลดลง
1.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 13011
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 13,011
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อขอความร่วมมือประชาชนในการป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19)  2. เพื่อสร้างความตระหนักให้แก่ประชาชนในการเฝ้าระวังและป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) (2) 3. เพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)  4. เพื่อลดภาระค่าใช้จ่ายของราชการ ในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ให้แก่ประชาชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การจัดคาราวานรณรงค์ประชาสัมพันธ์การป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)  ในพื้นที่ตำบลโคกหล่อ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการรณรงค์ป้องกันไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19) ในเชิงรุก จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 2563 – L1490 – 5 – 2

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายคณพศ ศรีประภา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด