กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต


“ โครงการส่งเสริมความรู้ด้านสุขภาพ ลดโรค ลดขยะและรายได้ โรงเรียนตาดีกาตำบลบูกิต ”

ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นายมะยาซี บูละ

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมความรู้ด้านสุขภาพ ลดโรค ลดขยะและรายได้ โรงเรียนตาดีกาตำบลบูกิต

ที่อยู่ ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 60-L2479-2-18 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมความรู้ด้านสุขภาพ ลดโรค ลดขยะและรายได้ โรงเรียนตาดีกาตำบลบูกิต จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมความรู้ด้านสุขภาพ ลดโรค ลดขยะและรายได้ โรงเรียนตาดีกาตำบลบูกิต



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมความรู้ด้านสุขภาพ ลดโรค ลดขยะและรายได้ โรงเรียนตาดีกาตำบลบูกิต " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 60-L2479-2-18 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 40,725.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันปริมาณขยะในโรงเรียนนับเป็นปัญหาที่ต้องได้รับการแก้ไข และหนึ่งในผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการสร้างมลพิษทางขยะก็มาจาก บุคลากร และนักเรียน โรงเรียนตาดีกาในตำบลบูกิต มีทั้งหมด ๑๗ แห่งจำนวนบุคลากร125 คน และนักเรียน จำนวน 1,983 คน ส่งผลให้ปริมาณขยะที่เกิดขึ้นจากกิจกรรมในด้านต่างๆ ของบุคลากรและนักศึกษาเพิ่มมากขึ้นด้วยเช่นกัน ซึ่งทางโรงเรียนได้จัดตั้งภาชนะถังขยะรองรับตามจุดต่างๆ โดยขยะภายในอาคารเรียนให้บุคลากรประจำอาคารเป็นผู้จัดเก็บ ส่วนขยะจากพื้นที่อื่นๆ โดยรอบโรงเรียนให้บุคลากรพื้นที่จัดเก็บก่อนที่ทางอบต.จะมารวบรวม เพื่อไปกำจัดทิ้งภายนอก และในการทิ้งขยะภายในโรงเรียนทั้งที่ยังไม่มีการคัดแยกประเภทขยะที่ชัดเจนแต่อย่างใด ทำให้ปริมาณขยะที่ต้องนำไปกำจัดมีมากขึ้น จากเหตุผลดังกล่าวอาจทำให้ส่งผลกระทบต่อการจัดการขยะและสภาพแวดล้อมของโรงเรียนในอนาคตได้ ดังนั้น เพื่อเป็นการปลูกจิตสำนึกให้กับบุคลากรและนักนักเรียน ได้ตระหนักและเห็นถึงความสำคัญถึงการเข้ามามีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาขยะ ความสำคัญของการดูแลรักษาสภาพแวดล้อม ปลอดโรคต่างๆที่จะเกิดในโรงเรียนและให้น่าอยู่ด้วยการร่วมมือร่วมใจกันเก็บแยกขยะซึ่งเป็นการแสดงความมีจิตสาธารณะทำเพื่อส่วนรวมตั้งแต่เยาว์วัย และพัฒนาเป็นเยาวชนที่มีคุณธรรม เป็นคนดีของสังคม และประเทศชาติต่อไปในอนาคต ซึ่งในการจัดทำโครงการสร้างแกนนำสุขภาพ ลดโรค ลดขยะและสร้างรายได้โรงเรียนตาดีกาตำบลบูกิต จึงเป็นรูปแบบหนึ่งของการดำเนินงานเพื่อส่งเสริมให้เกิดความรู้ความเข้าใจในการคัดแยกขยะให้ถูกวิธี เพื่อให้โรงเรียนมีระบบการจัดการขยะอย่างมีประสิทธิภาพ และมีสภาพแวดล้อมที่ดีต่อไป ชมรมตาดีกาตำบลบูกิต จึงได้จัดทำ โครงการสร้างแกนนำสุขภาพ ลดโรค ลดขยะ และสร้างรายได้โรงเรียนตาดีกาตำบลบูกิต ประจำปี ๒๕๖๐ ขึ้น โดยการมีส่วนร่วมของชุมชนและองค์กรในท้องถิ่นต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ๑ เพื่อให้บุคลากรและนักเรียนมีความรู้ในการดำเนินการคัดแยกขยะที่ถูกวิธี
  2. 2 เพื่อสร้างแกนนำในการปลูกจิตสำนึกในด้านการรักษาความสะอาด
  3. 3 เพื่อสร้างจิตสำนึกให้บุคลากรและนักเรียนเกิดความตระหนักถึงผลเสียที่จะก่อให้เกิดมลภาวะต่อสิ่งแวดล้อมและสุขอนามัย หากมีการจัดการขยะอย่างไม่เหมาะสม
  4. 4 เพื่อให้ระบบการบริหารจัดการขยะในโรงเรียนมีประสิทธิภาพ
  5. 5 โรงเรียนสะอาดมีขยะตามพื้นลดน้อยลง และมีรายได้จากการขายขยะ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 170
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1 นักเรียนมีความรู้ในการรักษาความสะอาด รู้จักเก็บขยะ และทิ้งขยะถูกที่ 2 นักเรียนได้ใช้เวลาว่างทำกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อส่วนรวม 3 ได้แนวทางและรูปแบบการจัดกิจกรรมเพื่อปลูกจิตสำนึกด้านอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่สอดคล้องกับสภาพปัญหาสุขภาพของท้องถิ่นอย่างยั่งยืน
    4 นักเรียนและประชาชนเกิดแนวที่ดีต่อการจัดการขยะมูลฝอย และเข้าใจคุณค่าของสิ่งต่างๆ ว่าวัสดุบางประเภทสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้หลายครั้งหรือสามารถเปลี่ยนเป็นเงินได้ 5 การมีส่วนร่วมในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับการจัดกิจกรรมอย่างเป็นระบบในการการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจากภูมิปัญญาของบุคลากรหน่วยงานและองค์กรในท้องถิ่น


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. กิจกรรมที่ ๑ อบรมเรื่องส่งสร้างความรู้เรื่องสุขภาพ ลดโรค ลดขยะและสร้างรายได้

    วันที่ 2 สิงหาคม 2560 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1  นักเรียนมีความรู้ในการรักษาความสะอาด รู้จักเก็บขยะ และทิ้งขยะถูกที่ 2  นักเรียนได้ใช้เวลาว่างทำกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อส่วนรวม 3 ได้แนวทางและรูปแบบการจัดกิจกรรมเพื่อปลูกจิตสำนึกด้านอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่สอดคล้องกับสภาพปัญหาสุขภาพของท้องถิ่นอย่างยั่งยืน       

     

    170 170

    2. กิจกรรมที่ ๒ ลดโรค ลดขยะ และสร้างรายได้จากขยะ

    วันที่ 5 สิงหาคม 2560 เวลา 14:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนมีความรู้ในการรักษาความสะอาด รู้จักเก็บขยะ และทิ้งขยะถูกที่ และกลับมาถ่ายทอดให้เพื่อนๆที่โรงเรียนของตัวเอง นักเรียนได้ใช้เวลาว่างทำกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อส่วนรวม ได้แนวทางและรูปแบบการจัดกิจกรรมเพื่อปลูกจิตสำนึกด้านอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่สอดคล้องกับสภาพปัญหาสุขภาพของท้องถิ่นอย่างยั่งยืน       
    นักเรียนและประชาชนเกิดแนวที่ดีต่อการจัดการขยะมูลฝอย และเข้าใจคุณค่าของสิ่งต่างๆ ว่าวัสดุบางประเภท  สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้หลายครั้ง  หรือสามารถเปลี่ยนเป็นเงินได้ การมีส่วนร่วมในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับการจัดกิจกรรมอย่างเป็นระบบในการการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจากภูมิปัญญาของบุคลากร  หน่วยงานและองค์กรในท้องถิ่น

     

    1,900 1,900

    3. กิจกรรมที่ ๓ เปลี่ยนขยะเป็นรายได้

    วันที่ 31 สิงหาคม 2560 เวลา 12:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนและประชาชนเกิดแนวที่ดีต่อการจัดการขยะมูลฝอย และเข้าใจคุณค่าของสิ่งต่างๆ ว่าวัสดุบางประเภท  สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้หลายครั้ง  หรือสามารถเปลี่ยนเป็นเงินได้      

     

    1,900 1,900

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    1. ผลการดำเนินงาน เป้าหมายผู้เข้าร่วมอบรม  170 คน  มาอบรม 170  คน  ถีอ ว่า 100%  และมีผู้เข้าร่วมโครงการไปถ่ายทอด เกิดกิจกรรมต่อเนื่อง มากกว่า 3,970 คน
      -นักเรียนมีความรู้ในการรักษาความสะอาด รู้จักเก็บขยะ และทิ้งขยะถูกที่ -นักเรียนได้ใช้เวลาว่างทำกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อส่วนรวม -ได้แนวทางและรูปแบบการจัดกิจกรรมเพื่อปลูกจิตสำนึกด้านอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่สอดคล้องกับสภาพปัญหาสุขภาพของท้องถิ่นอย่างยั่งยืน       
      -นักเรียนและประชาชนเกิดแนวที่ดีต่อการจัดการขยะมูลฝอย และเข้าใจคุณค่าของสิ่งต่างๆ ว่าวัสดุบางประเภท  สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้หลายครั้ง  หรือสามารถเปลี่ยนเป็นเงินได้ -การมีส่วนร่วมในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับการจัดกิจกรรมอย่างเป็นระบบในการการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจากภูมิปัญญาของบุคลากร  หน่วยงานและองค์กรในท้องถิ่น

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 ๑ เพื่อให้บุคลากรและนักเรียนมีความรู้ในการดำเนินการคัดแยกขยะที่ถูกวิธี
    ตัวชี้วัด :

     

    2 2 เพื่อสร้างแกนนำในการปลูกจิตสำนึกในด้านการรักษาความสะอาด
    ตัวชี้วัด :

     

    3 3 เพื่อสร้างจิตสำนึกให้บุคลากรและนักเรียนเกิดความตระหนักถึงผลเสียที่จะก่อให้เกิดมลภาวะต่อสิ่งแวดล้อมและสุขอนามัย หากมีการจัดการขยะอย่างไม่เหมาะสม
    ตัวชี้วัด :

     

    4 4 เพื่อให้ระบบการบริหารจัดการขยะในโรงเรียนมีประสิทธิภาพ
    ตัวชี้วัด :

     

    5 5 โรงเรียนสะอาดมีขยะตามพื้นลดน้อยลง และมีรายได้จากการขายขยะ
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 170
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 170
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑ เพื่อให้บุคลากรและนักเรียนมีความรู้ในการดำเนินการคัดแยกขยะที่ถูกวิธี (2) 2 เพื่อสร้างแกนนำในการปลูกจิตสำนึกในด้านการรักษาความสะอาด (3) 3 เพื่อสร้างจิตสำนึกให้บุคลากรและนักเรียนเกิดความตระหนักถึงผลเสียที่จะก่อให้เกิดมลภาวะต่อสิ่งแวดล้อมและสุขอนามัย หากมีการจัดการขยะอย่างไม่เหมาะสม (4) 4 เพื่อให้ระบบการบริหารจัดการขยะในโรงเรียนมีประสิทธิภาพ (5) 5 โรงเรียนสะอาดมีขยะตามพื้นลดน้อยลง และมีรายได้จากการขายขยะ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการส่งเสริมความรู้ด้านสุขภาพ ลดโรค ลดขยะและรายได้ โรงเรียนตาดีกาตำบลบูกิต จังหวัด นราธิวาส

    รหัสโครงการ 60-L2479-2-18

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายมะยาซี บูละ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด