กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการประชาชนสุขกาย สุขใจ สุขเงิน โดยหมอประจำบ้าน
รหัสโครงการ L3021-63-001
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานสาธารณสุขอื่นของรัฐ เช่น สสอ.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ สำนักงานสาธารณสุขอำเภอแม่ลาน
วันที่อนุมัติ 10 เมษายน 2563
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 9 กรกฎาคม 2563 - 3 ธันวาคม 2563
กำหนดวันส่งรายงาน 30 ธันวาคม 2563
งบประมาณ 17,580.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายกษิบดินทร์ ลอนิ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลแม่ลาน อำเภอแม่ลาน จังหวัดปัตตานี
ละติจูด-ลองจิจูด 6.647,101.231place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อให้ผู้ป่วยกลุ่มเป้าหมายได้รับการดูแลสุขภาพโดย อสม.หมอประจำบ้าน 2.เพื่อลดค่าใช้จ่ายของผู้ป่วยในการไปรับบริการที่โรงพยาบาล 3.ประชาชนสามารถดูแลสุขภาพในเบื้องต้นได้

ร้อยละ 70 ของผู้ป่วยกลุ่มเป้าหมายได้รับการดูแลโดย อสม.หมอประจำบ้าน

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 66 17,580.00 1 17,580.00
9 ก.ค. 63 - 3 ธ.ค. 63 1.ประชุมเจ้าหน้าที่ 2.กิจกรรมอบรม อสม. 3.อสม. หมอประจำบ้านเยี่ยมกลุ่มเสี่ยง 4.ประชุมสรุปผล 66 17,580.00 17,580.00
  1. ประชุมเจ้าหน้าที่สาธารณสุขผู้รับผิดชอบงานสุขภาพภาคประชาชนเพื่อชี้แจงแนวทางการดำเนินงาน
  2. อบรม อสม. ตามหลักสูตร อสม. หมอประจำบ้าน 2 วัน วันละ 6 ชั่วโมง ตามหลักสูตรของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ประกอบด้วยเนื้อหาวิชา 6 รายวิชา 2.1 วิชาอาสาสมัครสาธารณสุขประจำครอบครัว (อสค.) และบทบาท อสม.หมอประจำบ้าน    2 ชั่วโมง 2.2 วิชาการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมไม่ให้เกิดโรคในพื้นที่ 2 ชั่วโมง 2.3 วิชาการส่งเสริมสุขภาพละแก้ไขปัญหาสุขภาพที่สำคัญ 2 ชั่วโมง 2.4 วิชาภูมิปัญญาไทย สมุนไพร 2 ชั่วโมง 2.5 วิชาเทคโนโลยีการสื่อสารทางการแพทย์และแอปพลิเคชั่นเพื่อสุขภาพ 2 ชั่วโมง
    2.6 วิชาผู้นำการสร้างสุขภาพแบบมีส่วนร่วม 2 ชั่วโมง
  3. มอบเกียรติบัตร อสม.ที่ผ่านหลักสูตร อสม. หมอประจำบ้าน
  4. อสม.ที่ผ่านหลักสูตร ไปฝึกปฎิบัติงานที่รพ.สต.พื้นที่ของตนเอง
  5. อสม. หมอประจำบ้านเยี่ยม กลุ่มเสี่ยง กลุ่มผู้ป่วย และสำรวจสิ่งแวดล้อมในเขตรับผิดชอบ แล้วรายงานผลผ่านเทคโนโลยีการสื่อสารทางการแพทย์ โดยใช้ แอป smart อสม. 4.0 และ  อสม.ออนไลน์
  6. ประชุมสรุปผลการดำเนินงานในเวทีชมรม อสม.อำเภอแม่ลานเดือนละ 1 ครั้ง
  7. สรุปผลการดำเนินโครงการ
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. ประชาชนสามารถดูแลสุขภาพด้วยตนเอง
  2. ลดความแอดอัดของผู้ป่วยในโรงพยาบาล
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 10 เม.ย. 2563 15:17 น.