โครงการส่งเสริมการจัดการขยะแบบมีส่วนร่วมเพื่อลดโรค ประจำปี 2563
ชื่อโครงการ | โครงการส่งเสริมการจัดการขยะแบบมีส่วนร่วมเพื่อลดโรค ประจำปี 2563 |
รหัสโครงการ | 63-L4140-2-2 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยงานสาธารณสุขอื่นของ อปท. เช่น กองสาธารณสุขของเทศบาล |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | องค์การบริหารส่วนตำบลลำพะยา |
วันที่อนุมัติ | 28 กุมภาพันธ์ 2563 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 3 กุมภาพันธ์ 2563 - 30 กันยายน 2563 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 30 กันยายน 2563 |
งบประมาณ | 72,900.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางวรรณา ทองบุญ |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลลำพะยา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา |
ละติจูด-ลองจิจูด | 6.584,101.162place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 70 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง : ระบุ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
ในปัจจุบันปัญหาเรื่องขยะมูลฝอยนับว่าเป็นปัญหาสำคัญทั้งในระดับท้องถิ่นและ ระดับประเทศ สาเหตุเนื่องมาจากประชากรในประเทศมีจำนวนมากขึ้น ชุมชนก็เพิ่มขึ้น สถานประกอบการต่างๆ มีมากขึ้น สิ่งที่ตามมาอย่างเลี่ยงไม่ได้ก็คือ ขยะมูลฝอย ย่อมมีจำนวนมากเพิ่มขึ้น ชุมชนก็เพิ่มขึ้นไปตามไปด้วย ดังนั้นชุมชนจัดเป็นแหล่งสำคัญหนึ่งที่ผลิตของเสียออกสู่สิ่งแวดล้อม แม้ว่าขยะจากชุมชนหรืออาคารบ้านเรือนจะไม่ใช่ของเสียที่เป็นอันตรายเมื่อเปรียบเทียบกับของเสียจากโรงงานอุตสาหกรรมหรือการเกษตรกรรม แต่ถ้ามีปริมาณมากก็ย่อมก่อให้เกิดผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยของประชาชนและสิ่งแวดล้อมได้ โดยเฉพาะขยะมูลฝอยจากชุมชนหรืออาคารบ้านเรือน ขยะที่สามารถย่อยสลายได้ในธรรมชาติ ขยะที่สามารถนำกลับมาใช้ใหม่ได้ (recycle) ขยะประเภทเหลือใช้ ขยะที่อาจเป็นอันตรายอันเนื่องมาจากสารพิษ เป็นต้น ซึ่งการแก้ไขปัญหาขยะมูลฝอยในพื้นที่และกลไกเพื่อการคัดแยกขยะ แปรรูปขยะเป็นพลังงานด้วยนวัตกรรมที่เหมาะสมกับพื้นที่และเป็นการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและลดแหล่งเพาะพันธุ์พาหะนำโรคต่างๆ องค์การบริหารส่วนตำบลลำพะยา จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมการจัดการขยะแบบมีส่วนร่วมเพื่อลดโรค ประจำปี 2563 ขึ้น การจัดการขยะมูลฝอยในชุมชนภาคใต้ แนวคิด “ประชารัฐ” เพื่อให้ประชาชนและชุมชนส่งเสริมการดำเนินการตามหลัก 3Rs ได้แก่ การลดการใช้ (Reduce) การใช้ซ้ำ (Reuse) และการนำกลับมาใช้ใหม่ (Recycle) เพื่อกระตุ้นให้ประชาชนและชุมชนได้ตระหนักและรับรู้ถึงความจำเป็นในการคัดแยกขยะ และการใช้ประโยชน์จากขยะและเป็นการลดปริมาณขยะที่มีประสิทธิภาพ และป้องกันปัญหาการเกิดมลพิษ ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต ทั้งยังส่งเสริมให้แต่ละครัวเรือนมีการจัดการขยะที่ต้นทาง กลางทาง และปลายทาง เพื่อไม่ให้ขยะดังกล่าวตกค้าง ทำให้ชุมชนสะอาด น่าอยู่และไม่มีแหล่งเพาะพันธุ์โรคจากขยะในครัวเรือนและชุมชน
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | 1.เพื่อสร้างครัวเรือนต้นแบบในการคัดแยกขยะ สร้างความตะหนัก มีส่วนร่วมในการคัดแยกขยะก่อนทิ้ง ในความปลอดภัยด้านสุขภาพได้ถูกต้องและเหมาะสม มีครัวเรือนต้นแบบในการคัดแยกขยะ ร้อยละ 80 จากครัวเรือที่เข้าร่วมโครงการ |
0.00 | |
2 | 2. เพื่อลดแหล่งเพาะพันธุ์โรคจากขยะมูลฝอยในระดับครัวเรือน ลดแหล่งเพาะพันธุ์ุุโึรคจากชยะมูลฝอยในระดับครัวเรือนได้ร้อยละ 50 |
0.00 | |
3 | 3.เพื่อให้พื้นที่ตำบลลำพะยามีความสะอาดเรียบร้อยปราศจากขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล พื้นที่ตำบลลำพะยามีความสะอาดเรียบร้อย ปราศจากขยะมูลฝอยและส่ิ่งปฏิกูล |
0.00 |
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
คงเหลือ (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรม | 210 | 72,900.00 | 0 | 0.00 | 72,900.00 | |
3 ก.พ. 63 - 30 ก.ย. 63 | อบรมให้ความคู้แก่ครัวเรือนต้นแบบ | 70 | 21,900.00 | - | - | ||
3 ก.พ. 63 - 30 ก.ย. 63 | รณรงค์ และประชาสัมพันธุ์โครงการ | 70 | 46,300.00 | - | - | ||
3 ก.พ. 63 - 30 ก.ย. 63 | การจัดประกวดครัวเรือนต้นแบบการคัดแยกขยะ | 70 | 4,700.00 | - | - | ||
รวมทั้งสิ้น | 210 | 72,900.00 | 0 | 0.00 | 72,900.00 |
1.มีครัวเรือนต้นแบบในการคัดส่งเสริมการคัดแยกขยะ 2.สามารถลดแหล่งเพาะพันธุ์โรคจากขยะมูลฝอยในระดับครัวเรือนได้ 3.พื้นที่ตำบลลำพะยามีความสะอาดเรียบร้อย ปราศจากขยะมูลฝอย
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 13 เม.ย. 2563 09:53 น.