โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยและการป้องกันโรคติดต่อในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลแม่ลาน
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยและการป้องกันโรคติดต่อในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลแม่ลาน ”
ตำบลแม่ลาน อำเภอแม่ลาน จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นางสาวิตรี บุญไชยสุริยา
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แม่ลาน
กันยายน 2563
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยและการป้องกันโรคติดต่อในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลแม่ลาน
ที่อยู่ ตำบลแม่ลาน อำเภอแม่ลาน จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 009/2563
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 13 เมษายน 2563 ถึง 30 กันยายน 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยและการป้องกันโรคติดต่อในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลแม่ลาน จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลแม่ลาน อำเภอแม่ลาน จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แม่ลาน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยและการป้องกันโรคติดต่อในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลแม่ลาน
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยและการป้องกันโรคติดต่อในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลแม่ลาน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลแม่ลาน อำเภอแม่ลาน จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 13 เมษายน 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 17,320.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แม่ลาน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเป็นสถานที่ที่เด็กอยู่ร่วมกันเป็นจำนวนมาก เมื่อเจ็บป่วยจะสามารถแพร่เชื้อโรคติดต่อสู่กันได้ง่าย เด็กเล็กมีภูมิต้านทานต่ำจะป่วยได้บ่อย โรคที่พบบ่อยได้แก่ โรคติดเชื้อทางเดินหายใจ โรคมือ เท้า ปาก โรคอุจจาระร่วงเฉียบพลัน เป็นต้น ส่งผลกระทบต่อพัฒนาการสุขภาพโดยรวมของเด็ก การระบาดของโรคมือ เท้า ปาก อาจต้องปิดโรงเรียน เสียค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล ผู้ปกครองต้องหยุดงาน เพื่อดูแลเด็กที่บ้าน ทำให้ขาดรายได้ จึงจำเป็นต้องดำเนินงานการเฝ้าระวัง การป้องกันและควบคุมโรคในศูนย์เด็กเล็กให้มีประสิทธิภาพ ซึ่งนอกจากจะช่วยลดการเกิดโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก โรคมือ เท้า ปาก และโรคอุจจาระร่วงเฉียบพลันแล้วยังเป็นการเตรียมความพร้อมรับมือกับการระบาดของโรคติดเชื้อ ซึ่งอาจเกิดขึ้นได้ในอนาคต
จากข้อมูลในปี พ.ศ. 2562 ที่ผ่านมา พบว่า ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลแม่ลาน ต้องประกาศปิดการเรียนการสอน จำนวน 2 ครั้ง เนื่องจากมีการระบาดของโรคมือ เท้า ปาก ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ดังนั้นเพื่อเป็นการเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคในศูนย์เด็กเล็กให้ปลอดโรค ไม่ให้เกิดการระบาดของโรคและลดอัตราการป่วยของเด็ก ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลแม่ลาน จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยและการป้องกันโรคติดต่อในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลแม่ลานขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้หัวหน้าสถานศึกษา ผู้ดูแลเด็ก และผู้ปกครอง มีความรู้เรื่องโรคติดต่อและการป้องกันโรค
- 2. เพื่อให้หัวหน้าสถานศึกษา ผู้ดูแลเด็ก และผู้ปกครองมีทักษะในการจัดการสิ่งแวดล้อมและคัดกรองอาการป่วยโรค มือ เท้า ปาก ที่ถูกต้อง
- 3. เพื่อให้หัวหน้าสถานศึกษาผู้ดูแลเด็ก และผู้ปกครอง มีทักษะในการดูแลเด็กเบื้องต้น
- 4. เพื่อให้หัวหน้าสถานศึกษาผู้ดูแลเด็ก และผู้ปกครอง รู้วิธีการล้างมือที่ถูกวิธี
- 5. เพื่อลดอัตราการป่วยจากโรคติดต่อจากการติดเชื้อจากคนสู่คนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลแม่ลาน ป่วยด้วยโรคมือ เท้า ปาก และโรคติดต่ออื่น ๆ ลดลง
- หัวหน้าสถานศึกษา ผู้ดูแลเด็ก และผู้ปกครอง มีความรู้เรื่องโรคติดต่อและการป้องกันโรค และสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้เพื่อการดูแลรักษาสุขภาพอนามัยของเด็กปฐมวัยได้อย่างถูกวิธี และสามารถปฏิบัติตามมาตรการป้องกันด้านสุขอนามัยต่าง ๆ ครบถ้วนทุกขั้นตอน
- ผู้ปกครองเข้ามามีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพอนามัยของเด็ก
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้
วันที่ 24 กันยายน 2563กิจกรรมที่ทำ
1. ประชุมคณะกรรมการบริหารศูนย์ฯ ผู้ดูแลเด็ก และผู้ที่เกี่ยวข้อง เพื่อพิจารณารายละเอียดและแนวทาง การจัดโครงการเข้าแผนสุขภาพ ปี 2563 กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลแม่ลาน
2. จัดทำแผนงาน/โครงการเพื่อขอรับการสนับสนุน
3. เสนอโครงการเพื่อขออนุมัติงบประมาณต่อคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลแม่ลาน
4. ประชุมร่วมกันวางแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
5. แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน
6. ประสานวิทยากร สถานที่ และอื่น ๆ ในการจัดการฝึกอบรม
7. ประชาสัมพันธ์โครงการ
8. ประชุมคณะทำงานเพื่อกำหนดผู้รับผิดชอบในแต่ละฝ่าย
9. ดำเนินการตามแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
9.1 จัดอบรมหัวหน้าสถานศึกษา ผู้ดูแลเด็ก และผู้ปกครอง ในประเด็นต่อไปนี้
1) สถานการณ์โรคติดต่อในเด็กปฐมวัยในพื้นที่
2) ความรู้เรื่องโรคติดต่อที่สำคัญ เช่น อุจจาระร่วง ไข้หวัดใหญ่ โรคมือ เท้า ปาก การเฝ้าระวังโรค การป้องกันการควบคุมโรค
3) สิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการเกิดโรค ทักษะในการจัดการสิ่งแวดล้อม การล้างทำความสะอาดของเล่น อุปกรณ์ที่เด็กใช้ร่วมกัน
4) การคัดกรองอาการป่วยโรคติดต่อชนิดต่างๆ
5) ทักษะในการดูแลเด็กเบื้องต้น การเช็ดตัวลดไข้ การวัดไข้เด็ก
9.2 กิจกรรมให้ความรู้พร้อมฝึกปฏิบัติการล้างมือที่ถูกวิธี
10. สรุปและประเมินผลการดำเนินโครงการและรายงานผลโครงการ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
มีผู้เข้าร่วมโครงการ 50 คน คิดเป็นร้อยละ 100%
50
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1. เพื่อให้หัวหน้าสถานศึกษา ผู้ดูแลเด็ก และผู้ปกครอง มีความรู้เรื่องโรคติดต่อและการป้องกันโรค
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องโรคติดต่อและวิธีการป้องกันโรค
0.00
2
2. เพื่อให้หัวหน้าสถานศึกษา ผู้ดูแลเด็ก และผู้ปกครองมีทักษะในการจัดการสิ่งแวดล้อมและคัดกรองอาการป่วยโรค มือ เท้า ปาก ที่ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการมีทักษะในการจัดการสิ่งแวดล้อมและคัดกรองอาการป่วยโรค มือ เท้า ปาก ที่ถูกต้อง
0.00
3
3. เพื่อให้หัวหน้าสถานศึกษาผู้ดูแลเด็ก และผู้ปกครอง มีทักษะในการดูแลเด็กเบื้องต้น
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการมีทักษะในการดูแลเด็กเบื้องต้น
0.00
4
4. เพื่อให้หัวหน้าสถานศึกษาผู้ดูแลเด็ก และผู้ปกครอง รู้วิธีการล้างมือที่ถูกวิธี
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการ สามารถล้างมือได้ถูกวิธี และนำความรู้ที่ได้รับไปถ่ายทอดให้กับเด็ก
0.00
5
5. เพื่อลดอัตราการป่วยจากโรคติดต่อจากการติดเชื้อจากคนสู่คนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
ตัวชี้วัด : ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีอัตราการป่วยของเด็กที่เป็นโรคมือเท้า ปาก ลดลงเป็นจำนวนอย่างน้อย 90%
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้หัวหน้าสถานศึกษา ผู้ดูแลเด็ก และผู้ปกครอง มีความรู้เรื่องโรคติดต่อและการป้องกันโรค (2) 2. เพื่อให้หัวหน้าสถานศึกษา ผู้ดูแลเด็ก และผู้ปกครองมีทักษะในการจัดการสิ่งแวดล้อมและคัดกรองอาการป่วยโรค มือ เท้า ปาก ที่ถูกต้อง (3) 3. เพื่อให้หัวหน้าสถานศึกษาผู้ดูแลเด็ก และผู้ปกครอง มีทักษะในการดูแลเด็กเบื้องต้น (4) 4. เพื่อให้หัวหน้าสถานศึกษาผู้ดูแลเด็ก และผู้ปกครอง รู้วิธีการล้างมือที่ถูกวิธี (5) 5. เพื่อลดอัตราการป่วยจากโรคติดต่อจากการติดเชื้อจากคนสู่คนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยและการป้องกันโรคติดต่อในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลแม่ลาน จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวิตรี บุญไชยสุริยา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยและการป้องกันโรคติดต่อในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลแม่ลาน ”
ตำบลแม่ลาน อำเภอแม่ลาน จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นางสาวิตรี บุญไชยสุริยา
กันยายน 2563
ที่อยู่ ตำบลแม่ลาน อำเภอแม่ลาน จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 009/2563
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 13 เมษายน 2563 ถึง 30 กันยายน 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยและการป้องกันโรคติดต่อในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลแม่ลาน จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลแม่ลาน อำเภอแม่ลาน จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แม่ลาน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยและการป้องกันโรคติดต่อในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลแม่ลาน
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยและการป้องกันโรคติดต่อในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลแม่ลาน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลแม่ลาน อำเภอแม่ลาน จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 13 เมษายน 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 17,320.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แม่ลาน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเป็นสถานที่ที่เด็กอยู่ร่วมกันเป็นจำนวนมาก เมื่อเจ็บป่วยจะสามารถแพร่เชื้อโรคติดต่อสู่กันได้ง่าย เด็กเล็กมีภูมิต้านทานต่ำจะป่วยได้บ่อย โรคที่พบบ่อยได้แก่ โรคติดเชื้อทางเดินหายใจ โรคมือ เท้า ปาก โรคอุจจาระร่วงเฉียบพลัน เป็นต้น ส่งผลกระทบต่อพัฒนาการสุขภาพโดยรวมของเด็ก การระบาดของโรคมือ เท้า ปาก อาจต้องปิดโรงเรียน เสียค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล ผู้ปกครองต้องหยุดงาน เพื่อดูแลเด็กที่บ้าน ทำให้ขาดรายได้ จึงจำเป็นต้องดำเนินงานการเฝ้าระวัง การป้องกันและควบคุมโรคในศูนย์เด็กเล็กให้มีประสิทธิภาพ ซึ่งนอกจากจะช่วยลดการเกิดโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก โรคมือ เท้า ปาก และโรคอุจจาระร่วงเฉียบพลันแล้วยังเป็นการเตรียมความพร้อมรับมือกับการระบาดของโรคติดเชื้อ ซึ่งอาจเกิดขึ้นได้ในอนาคต
จากข้อมูลในปี พ.ศ. 2562 ที่ผ่านมา พบว่า ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลแม่ลาน ต้องประกาศปิดการเรียนการสอน จำนวน 2 ครั้ง เนื่องจากมีการระบาดของโรคมือ เท้า ปาก ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ดังนั้นเพื่อเป็นการเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคในศูนย์เด็กเล็กให้ปลอดโรค ไม่ให้เกิดการระบาดของโรคและลดอัตราการป่วยของเด็ก ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลแม่ลาน จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยและการป้องกันโรคติดต่อในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลแม่ลานขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้หัวหน้าสถานศึกษา ผู้ดูแลเด็ก และผู้ปกครอง มีความรู้เรื่องโรคติดต่อและการป้องกันโรค
- 2. เพื่อให้หัวหน้าสถานศึกษา ผู้ดูแลเด็ก และผู้ปกครองมีทักษะในการจัดการสิ่งแวดล้อมและคัดกรองอาการป่วยโรค มือ เท้า ปาก ที่ถูกต้อง
- 3. เพื่อให้หัวหน้าสถานศึกษาผู้ดูแลเด็ก และผู้ปกครอง มีทักษะในการดูแลเด็กเบื้องต้น
- 4. เพื่อให้หัวหน้าสถานศึกษาผู้ดูแลเด็ก และผู้ปกครอง รู้วิธีการล้างมือที่ถูกวิธี
- 5. เพื่อลดอัตราการป่วยจากโรคติดต่อจากการติดเชื้อจากคนสู่คนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลแม่ลาน ป่วยด้วยโรคมือ เท้า ปาก และโรคติดต่ออื่น ๆ ลดลง
- หัวหน้าสถานศึกษา ผู้ดูแลเด็ก และผู้ปกครอง มีความรู้เรื่องโรคติดต่อและการป้องกันโรค และสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้เพื่อการดูแลรักษาสุขภาพอนามัยของเด็กปฐมวัยได้อย่างถูกวิธี และสามารถปฏิบัติตามมาตรการป้องกันด้านสุขอนามัยต่าง ๆ ครบถ้วนทุกขั้นตอน
- ผู้ปกครองเข้ามามีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพอนามัยของเด็ก
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้ |
||
วันที่ 24 กันยายน 2563กิจกรรมที่ทำ1. ประชุมคณะกรรมการบริหารศูนย์ฯ ผู้ดูแลเด็ก และผู้ที่เกี่ยวข้อง เพื่อพิจารณารายละเอียดและแนวทาง การจัดโครงการเข้าแผนสุขภาพ ปี 2563 กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลแม่ลาน
2. จัดทำแผนงาน/โครงการเพื่อขอรับการสนับสนุน
3. เสนอโครงการเพื่อขออนุมัติงบประมาณต่อคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลแม่ลาน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นมีผู้เข้าร่วมโครงการ 50 คน คิดเป็นร้อยละ 100%
|
50 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อให้หัวหน้าสถานศึกษา ผู้ดูแลเด็ก และผู้ปกครอง มีความรู้เรื่องโรคติดต่อและการป้องกันโรค ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องโรคติดต่อและวิธีการป้องกันโรค |
0.00 |
|
||
2 | 2. เพื่อให้หัวหน้าสถานศึกษา ผู้ดูแลเด็ก และผู้ปกครองมีทักษะในการจัดการสิ่งแวดล้อมและคัดกรองอาการป่วยโรค มือ เท้า ปาก ที่ถูกต้อง ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการมีทักษะในการจัดการสิ่งแวดล้อมและคัดกรองอาการป่วยโรค มือ เท้า ปาก ที่ถูกต้อง |
0.00 |
|
||
3 | 3. เพื่อให้หัวหน้าสถานศึกษาผู้ดูแลเด็ก และผู้ปกครอง มีทักษะในการดูแลเด็กเบื้องต้น ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการมีทักษะในการดูแลเด็กเบื้องต้น |
0.00 |
|
||
4 | 4. เพื่อให้หัวหน้าสถานศึกษาผู้ดูแลเด็ก และผู้ปกครอง รู้วิธีการล้างมือที่ถูกวิธี ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการ สามารถล้างมือได้ถูกวิธี และนำความรู้ที่ได้รับไปถ่ายทอดให้กับเด็ก |
0.00 |
|
||
5 | 5. เพื่อลดอัตราการป่วยจากโรคติดต่อจากการติดเชื้อจากคนสู่คนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ตัวชี้วัด : ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีอัตราการป่วยของเด็กที่เป็นโรคมือเท้า ปาก ลดลงเป็นจำนวนอย่างน้อย 90% |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้หัวหน้าสถานศึกษา ผู้ดูแลเด็ก และผู้ปกครอง มีความรู้เรื่องโรคติดต่อและการป้องกันโรค (2) 2. เพื่อให้หัวหน้าสถานศึกษา ผู้ดูแลเด็ก และผู้ปกครองมีทักษะในการจัดการสิ่งแวดล้อมและคัดกรองอาการป่วยโรค มือ เท้า ปาก ที่ถูกต้อง (3) 3. เพื่อให้หัวหน้าสถานศึกษาผู้ดูแลเด็ก และผู้ปกครอง มีทักษะในการดูแลเด็กเบื้องต้น (4) 4. เพื่อให้หัวหน้าสถานศึกษาผู้ดูแลเด็ก และผู้ปกครอง รู้วิธีการล้างมือที่ถูกวิธี (5) 5. เพื่อลดอัตราการป่วยจากโรคติดต่อจากการติดเชื้อจากคนสู่คนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยและการป้องกันโรคติดต่อในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลแม่ลาน จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวิตรี บุญไชยสุริยา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......