กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการศาสนาสร้างสุขภาพ ประจำปี 2563
รหัสโครงการ l2498-63-01-03
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานสาธารณสุขอื่นของ อปท. เช่น กองสาธารณสุขของเทศบาล
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ องค์การบริหารส่วนตำบลยี่งอ
วันที่อนุมัติ 26 กุมภาพันธ์ 2563
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มีนาคม 2563 - 31 พฤษภาคม 2563
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 66,980.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารส่วนตำบลยี่งอ (นายนิตารมีซี แวดาโอะ) และชมรมอีหม่ามตำบลยี่งอ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลยี่งอ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส
ละติจูด-ลองจิจูด 6.382,101.703place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 6930 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ปัญหาสาธารณสุขในพื้นที่ตําบลยี่งอ นับวันจะเพิ่มจํานวนปัญหามากขึ้นและทวีความรุนแรงยิ่งขึ้น ซึ่งส่วนใหญ่เป็นปัญหาที่สามารถป้องกันได้ โดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม แต่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมต้องอาศัย ความร่วมมือของภาคประชาชนเป็นอย่างมากและต้องอาศัยการปรับเปลี่ยนทัศนคติของประชาชนให้ตระหนักใน ปัญหาสุขภาพของตนเอง ในพระมหาคัมภีร์อัลกรุอานของศาสนาอิสลาม ได้บัญญัติในเรื่องของวิถีชีวิตประจําวัน การปฏิบัติตัว ของชาวมุสลิมไว้อย่างครบถ้วน รวมทั้งการปฏิบัติตัวให้ถูกหลักสุขภาวะทางอนามัย อื่นๆ อีกมากมาย เพื่อให้ ครอบครัว ชุมชน สังคม อยู่อย่างปกติสุข และปลอดโรค เช่น หลักการของการรักษาความสะอาด หลักการของการไม่ผิดประเวณี และหลักการของการบริโภคอาหาร เป็นต้น หลักการเหล่านี้เป็นหลักการที่สอดคล้องกับหลักวิทยาศาสตร์สุขภาพ ซึ่งบทบัญญัติในพระมหาคัมภีร์อัลกรุอาน เป็นบทบัญญัติที่ผู้นับถือศาสนาอิสลามต้องปฏิบัติ ดังนั้น เพื่อเป็นการส่งเสริมสุขภาพของประชาชนในพื้นที่ตําบลยี่งอ ซึ่งส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม ให้มีสุขภาพดีและปฏิบัติตามหลักบทบัญญัติของศาสนาอิสลาม คณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตําบลยี่งอ และกองสาธารณสุขฯ องค์การบริหารส่วนตําบลยี่งอ ตระหนักและเห็นความสําคัญของ ปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทําโครงการศาสนาสร้างสุขภาพ ประจําปี ๒๕๖๓ ขึ้น

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อสร้างความตระหนักในด้านสุขภาพโดยอ้างอิงหลักการศาสนาอิสลาม ที่สอดคล้องกับหลักการ วิทยาศาสตร์สุขภาพ

 

0.00
2 2. เพื่อเป็นการลดโรคที่สามารถป้องกันได้

 

0.00
3 3. เพื่อให้ชุมชนมีส่วนร่วมและรับรู้ในกิจกรรมด้านสุขภาพด้วยตนเอง

 

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 6930 66,980.00 0 0.00
15 เม.ย. 63 จัดการบรรยายธรรมตามหลักการศาสนาอิสลามที่สอดคล้องกับหลักวิทยาศาสตร์สุขภาพโดย อุสตาส บาบอ (ผู้เชี่ยวชาญด้านศาสนาอิสลาม) ในมัสยิดของชุมชนในภาคกลางคืน ก่อนเดือนถือศีลอดของชาว มุสลิม จํานวน ๗ ชุมชน ๆ ละ ๑ ครั้ง 0 39,980.00 -
15 เม.ย. 63 จัดการบรรยายธรรมตามหลักการศาสนาอิสลามที่สอดคล้องกับหลักวิทยาศาสตร์สุขภาพโดย อุสตาส บาบอ (ผู้เชี่ยวชาญด้านศาสนาอิสลาม) หรือเจ้าหน้าที่สาธารณสุข ผ่านระบบเสียงไร้สายของ อบต. ช่วงเวลา ๐๙.๐๐ น. ถึง ๑๒.00 น. ของทุกวัน ยกเว้นวันศุกร์และวันหยุดราชการ 6,930 27,000.00 -
  • ปรึกษาหารือแนวทางในการจัดโครงการ
  • จัดทําโครงการเพื่อขออนุมัติโครงการ
  • จัดการบรรยายธรรมตามหลักการศาสนาอิสลามที่สอดคล้องกับหลักวิทยาศาสตร์สุขภาพโดย อุสตาส บาบอ (ผู้เชี่ยวชาญด้านศาสนาอิสลาม) ในมัสยิดของชุมชนในภาคกลางคืน ก่อนเดือนถือศีลอดของชาว มุสลิม จํานวน ๗ ชุมชนๆ ละ ๑ ครั้ง
  • จัดการบรรยายธรรมตามหลักการศาสนาอิสลามที่สอดคล้องกับหลักวิทยาศาสตร์สุขภาพโดย อุสตาส บาบอ (ผู้เชี่ยวชาญด้านศาสนาอิสลาม) หรือเจ้าหน้าที่สาธารณสุข ผ่านระบบเสียงไร้สายของ อบต. ช่วงเวลา ๐๙.๐๐ น. ถึง ๑๒.00 น. ของทุกวัน ยกเว้นวันศุกร์และวันหยุดราชการ ในเดือนรอมฏอน ตามปฏิทิน อิสลาม ซึ่งอยู่ระหว่างวันที่ ๒๔ เมษายน ๒๕๖๓ – ๒๓ พฤษภาคม ๒๕๑๓
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  • ประชาชนได้ความรู้ด้านสุขภาพโดยหลักการศาสนาอิสลาม ที่สอดคล้องกับหลักการวิทยาศาสตร์ สุขภาพ
  • อัตราป่วยด้วยโรคที่สามารถป้องกันได้ลดลง
  • ชุมชนมีส่วนร่วมและรับรู้ในกิจกรรมด้านสุขภาพด้วยตนเอง
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 15 เม.ย. 2563 10:29 น.