กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ช้างให้ตก


“ โครงการควบคุมและเฝ้าระวังป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ”

ตำบลช้างให้ตก อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นายสะการียา หวัง

ชื่อโครงการ โครงการควบคุมและเฝ้าระวังป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

ที่อยู่ ตำบลช้างให้ตก อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 001/2563

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ ถึง 30 กันยายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการควบคุมและเฝ้าระวังป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลช้างให้ตก อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ช้างให้ตก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการควบคุมและเฝ้าระวังป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการควบคุมและเฝ้าระวังป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลช้างให้ตก อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน ยังไม่ระบุ - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 100,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ช้างให้ตก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันเกิดสถานการณ์การระบาดของโรคไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ตามที่กระทรวงสาธารณสุข มีรายงานผู้ป่วยยืนยันทั่วโลก รวม 207 ประเทศ 2 เขตบริหารพิเศษ 1 นครรัฐ เรือ Diamond Princess เรือ Grands Princess และเรือ MS Zaandam ในวันที่ 15 เมษายน จำนวน 2,005,542 ราย มีอาการรุนแรง 51,592 ราย เสียชีวิต 126,858 ราย โดยประเทศที่มีจำนวนผู้ป่วยยืนยัน 10 อันดับแรก ได้แก่ สหรัฐอเมริกา 614,246 รายสเปน 174,060ราย อิตาลี162,488 ราย ฝรั่งเศส 143,303 ราย เยอรมนี 132,210 ราย สหราชอาณาจักร 93,873 ราย จีน 83,357 ราย (รวม ฮ่องกง 1,017ราย มาเก๊า45ราย)อิหร่าน 74,877 ราย ตุรกี 65,111 ราย และเบลเยี่ยม 31,119 ราย(ข้อมูลจากรายงานสถานการณ์โรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) โดยศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน กรมควบคุมโรค ฉบับที่ 103 วันที่ 15 เมษายน 2563 เวลา 20.00 น.)สำหรับประเทศไทยการคัดกรองผู้เดินทางเข้า-ออกที่ท่าอากาศยาน คัดกรองเที่ยวบินสะสมตั้งแต่วันที่ 3 มกราคม 2563 ถึงวันที่ 14 เมษายน 2563 รวมทั้งสิ้น 37,132 เที่ยวบิน ผู้เดินทางได้รับการคัดกรองสะสมรวม 4,397,083 ราย พบผู้ป่วยที่มีอาการเข้าได้ตามนิยามการคัดกรองจำนวน 594 ราย การคัดกรองผู้เดินทางที่ท่าเรือตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2563 ถึงวันที่ 14 เมษายน 2563 มียอดการคัดกรองเรือสะสม 1,591 ลำ มีผู้ที่เดินทางได้รับการคัดกรองสะสมรวม 134,780 ราย พบผู้ป่วยที่มีอาการเข้าได้ตามนิยามการคัดกรองจำนวน 2 ราย การคัดกรองผู้เดินทางผ่านด่านพรมแดนทางบกตั้งแต่วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2563 ถึง 14 เมษายน 2563 มีผู้ได้รับการคัดกรองสะสมรวม 1,798,518 ราย และการคัดกรองผู้มาต่ออายุหนังสือเดินทางที่สำนักงานตรวจคนเข้าเมือง แจ้งวัฒนะ ตั้งแต่วันที่ 30 มกราคม 2563 ถึง 15 เมษายน 2563 ได้ทำการคัดกรองรวมทั้งสิ้น 153,993 ราย รวมพบผู้ป่วยที่มีอาการเข้าได้ตามนิยามการคัดกรองที่ช่องทางเข้าออกประเทศ จำนวน 596 ราย 2.2 ผลดำเนินการคัดกรองผู้ป่วยที่มีอาการตามนิยามเฝ้าระวังโรควันที่15 เมษายน 2563 ณ เวลา 18.00 น. พบผู้ป่วยที่มีอาการตามนิยามเฝ้าระวังโรครายใหม่ จำนวน 1,043 ราย รวมยอดผู้ป่วยสะสมทั้งหมด จำนวน 36,495 ราย รายละเอียดตามตารางที่ 1 ตาราง 1 ผลดำเนินการคัดกรองผู้ป่วยที่มีอาการตามนิยามเฝ้าระวังโรคประเภทของผู้ป่วยจำนวนผู้ป่วยสะสมผู้ป่วยที่มีอาการเข้าได้ตามนิยาม 36,495 รายคัดกรองพบที่สนามบิน (สุวรรณภูมิ (525) ดอนเมือง (52) ภูเก็ต (8) เชียงใหม่ (3) สุราษฎร์ธานี (2) อุบลราชธานี (2) อู่ตะเภา (1) อุดรธานี (1) คัดกรองที่ท่าเรือ 594 ราย 2 รายเข้ารับการรักษาที่โรงพยาบาลด้วยตนเอง (โรงพยาบาลเอกชน 11,793 ราย โรงพยาบาลรัฐ 22,776 รายและอยู่ระหว่างการสอบสวน 1,242 ราย) 35,811 รายประเภทของผู้ป่วยจำนวนผู้ป่วยสะสมรับแจ้งจากโรงแรม ศูนย์เอราวัณ มหาวิทยาลัย มัคคุเทศก์และอู่ตะเภา 88 รายผู้ป่วยยืนยันสะสมหายป่วยและแพทย์อนุญาตให้ออกจากโรงพยาบาลอยู่ระหว่างการรักษาพยาบาลเสียชีวิต 2,643 ราย 1,593 ราย 1,007 ราย 43 รายการติดเชื้อของผู้ป่วยยืนยันสะสมจากภายในประเทศจากต่างประเทศ - กักกันในพื้นที่ที่รัฐกำหนด2,643 ราย 2,161 ราย 482 ราย 63 ราย(ข้อมูลจากรายงานสถานการณ์โรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) โดยศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน กรมควบคุมโรค ฉบับที่ 103 วันที่ 15 เมษายน 2563 เวลา 20.00 น.) ทั้งนี้ การเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) จำเป็นต้องมีการดำเนินการให้ความรู้ คำแนะนำ การดูแลเฝ้าระวังป้องกันตนเองให้กับประชาชนในเขตพื้นที่ ได้แก่ หน่วยบริการ สถานบริการหน่วยงานสาธารณสุข สถานประกอบการ สถานศึกษา ศูนย์เด็กเล็ก หน่วยงานราชการ ร้านค้าในชุมชน และบริการสาธารณะต่างๆ เขตในพื้นที่ความรับผิดชอบของ อบต.ช้างให้ตก องค์การบริหารส่วนตำบลช้างให้ตก รับผิดชอบดูแลเกี่ยวกับภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุข จึงต้องมีการมาตรการแก้ไขสถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ให้ทันต่อเหตุการณ์ เพื่อลดผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชน ตลอดจนป้องกันไม่ให้เกิดการแพร่ระบาดของโรคในวงกว้าง โรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) ซึ่งยอมาจาก “Coronavirus disease 2019” เป็นตระกูลเดียวกับโรคซาร์ส ที่ระบาดเมือปี 2545 ทำให้เกิดโรคทางเดินหายใจอักเสบเสียบพลันปอดอักเสบและมีภาวะแทรกซ้อน พบแหล่งกำเนิดจากเมืองอู่ฮั่น มลฑลหูเป่ย ประเทศจีน จากที่มีผู้ป่วยมีอาการคล้ายปอดอักเสบและไข้หวดใหญ่เป็นจำนวนมาก จึงมีการเก็บตัวอย่างของคนไข้เหล่านี้ไปถอดรหัสพันธุกรรมและได้ว่าเป็นเชื้อ ไวรัสโคโรนา ซึ่งเป็นสายพันธุ์ที่ 7 ที่ถูกค้นพบ เป็นตระกูลเดียวกับโรคซาร์ส (SARS) และเมอร์ส (MERS)           ดังนั้น องค์การบริหารส่วนตำบลช้างให้ตก จึงได้จัดทำโครงการควบคุมเฝ้าระวังป้องกันโรคเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เพื่อควบคุมเฝ้าระวังและป้องกันการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) ตั้งรับการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) ให้ทันต่อสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค โดยขอรับงบประมาณสนับสนุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลช้างให้ตก เป็นเงินทั้งสิ้น 100,000 บาท

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อที่ 1 เพื่อเสริมสร้างความเข้าใจแก่ประชาชนเกี่ยวกับโรคและการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ข้อที่ 2 เพื่อตั้งด่านตรวจคัดกรองโรคและเฝ้าระวังควบคุมการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID19) ข้อที่ 3 เพื่อจัดหาวัสดุอุปกรณ์ในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 1 จัดหาวัสดุอุปกรณ์ในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) กิจกรรมที่ 2 ตั้งจุดคัดกรองโรค และเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา2019 (COVID-19) และการเคาะประตูบ้านทุกครัวเรือนในเขตพื้นที่ตำบลช้างให้ตก

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 3,026
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. มีด่านตรวจคัดกรองโรคโควิด-19 เพื่อเฝ้าระวังควบคุมการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID19)
            2. ลดความตื่นตระหนักของประชาชนและสร้างความพร้อมในการเผชิญกับการแพร่ระบาดของโรค
  2. ประชาชนในพื้นที่ตำบลช้างให้ตกมีความรู้ความเข้าใจและสามารถปฏิบัติตนตามแนวทางการป้องกัน ควบคุมการระบาดได้
    1. การดำเนินงานโต้ตอบภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขเป็นระบบชัดเจน มีประสิทธิภาพ
  3. มีด่านตรวจคัดกรองโรคโควิด-19 เพื่อเฝ้าระวังควบคุมการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID19)
            2. ลดความตื่นตระหนักของประชาชนและสร้างความพร้อมในการเผชิญกับการแพร่ระบาดของโรค
  4. ประชาชนในพื้นที่ตำบลช้างให้ตกมีความรู้ความเข้าใจและสามารถปฏิบัติตนตามแนวทางการป้องกัน ควบคุมการระบาดได้
    1. การดำเนินงานโต้ตอบภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขเป็นระบบชัดเจน มีประสิทธิภาพ

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อที่ 1 เพื่อเสริมสร้างความเข้าใจแก่ประชาชนเกี่ยวกับโรคและการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ข้อที่ 2 เพื่อตั้งด่านตรวจคัดกรองโรคและเฝ้าระวังควบคุมการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID19) ข้อที่ 3 เพื่อจัดหาวัสดุอุปกรณ์ในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
ตัวชี้วัด : 1 ประชาชนมีความเข้าใจเรื่องการป้องกันตนเอง ร้อยละ 90 2 มีด่านตรวจคัดกรองโรคบริการประชาชน จำนวน 1 จุด 3 มีวัสดุอุปกรณ์สำหรับป้องกันโรคแก่กลุ่มเสียงและเจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้องครบ ร้อยละ 100
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 3026
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 3,026
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1 เพื่อเสริมสร้างความเข้าใจแก่ประชาชนเกี่ยวกับโรคและการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)  ข้อที่ 2 เพื่อตั้งด่านตรวจคัดกรองโรคและเฝ้าระวังควบคุมการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID19)  ข้อที่ 3 เพื่อจัดหาวัสดุอุปกรณ์ในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019  (COVID-19)

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 จัดหาวัสดุอุปกรณ์ในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) กิจกรรมที่ 2 ตั้งจุดคัดกรองโรค และเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา2019 (COVID-19) และการเคาะประตูบ้านทุกครัวเรือนในเขตพื้นที่ตำบลช้างให้ตก

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการควบคุมและเฝ้าระวังป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายสะการียา หวัง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด