กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ เฝ้าระวัง กักกันกลุ่มเสี่ยงจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (Coronavirus Disease 2019 (COVID-19) ประจำปีงบประมาณ 2563 ”
ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
นายณตฤณ เพ็ชรมี




ชื่อโครงการ เฝ้าระวัง กักกันกลุ่มเสี่ยงจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (Coronavirus Disease 2019 (COVID-19) ประจำปีงบประมาณ 2563

ที่อยู่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 63-L7258-5-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 17 เมษายน 2563 ถึง 30 กันยายน 2563

กิตติกรรมประกาศ

"เฝ้าระวัง กักกันกลุ่มเสี่ยงจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (Coronavirus Disease 2019 (COVID-19) ประจำปีงบประมาณ 2563 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
เฝ้าระวัง กักกันกลุ่มเสี่ยงจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (Coronavirus Disease 2019 (COVID-19) ประจำปีงบประมาณ 2563



บทคัดย่อ

โครงการ " เฝ้าระวัง กักกันกลุ่มเสี่ยงจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (Coronavirus Disease 2019 (COVID-19) ประจำปีงบประมาณ 2563 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 63-L7258-5-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 17 เมษายน 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 100,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันเกิดสถานการณ์การระบาดของโรคไวรัสโคโรนา 2019 (Coronavirus Disease 2019 (COVD-19) ตามที่กระทรวงสาธารณสุข ได้แจ้งสถานการณ์ทั่วโลก มีรายงานผู้ป่วยยืนยันทั่วโลก รวม 207 ประเทศ 2 เขตบริหารพิเศษ 1 นครรัฐ เรือ Daimond Princess เรือ Grands Princess และเรือ MS Zaandam ในวันที่ 15 เมษายน จำนวน 2,005,542 ราย มีอาการรุนแรง 51,592 ราย เสียชีวิต 126,858 ราย โดยประเทศที่มีจำนวนผู้ป่วย ยืนยัน 10 อันดับแรก ได้แก่สหรัฐอเมริกา 614,246 ราย สเปน 174,060 ราย อิตาสี162,488 ราย ฝรั่งเศส 143,303 ราย เยอรมนี 132,210 ราย สหราชอาณาจักร 93,873 ราย จีน 83,357 ราย (รวม ฮ่องกง 1,017ราย มาเก๊า 45 ราย) อิหร่าน 74,877 ราย ตุรกี65,111 ราย และเบลเยี่ยม 31,119 ราย สำหรับประทศไทยพบผู้ป่วยยืนยันติดเชื้อจำนวน ผู้ติดเชื้อรายใหม่เพิ่ม 34 ราย รวมผู้ป่วยสะสม 2,613 รายใน 68 จังหวัด เสียชีวิตเพิ่ม 1 ราย รวมผู้เสียชีวิตสะสม 41 ราย รักษาหายป่วยเพิ่มขึ้น 177 ราย รวมกลับบ้านแล้ว 1,405 ราย ผู้ป่วยส่วนใหญ่อายุระหว่าง 30-39 ปี จำนวน 623 ราย อายุมากที่สุด 97ปีและน้อยที่สุด1 เดือน อายุเฉลี่ย40ปีแบ่งตามภูมิภาค กรุงเทพฯ นนทบุรี 1,464 ราย ภาคเหนือ 95 ราย ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 106 ราย ภาคกลาง 344 ราย และภาคใต้ 531 ราย (ข้อมูลจาก: รายงาน ข่าวกรณีโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Coronavirus Disease 2019 (COVID-19) ศูนย์ปฏิบัติการด้านข่าว โรคติด เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID -19) กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข วันที่ 14 เมษายน 2563) และจังหวัด สงขลามีผู้ป่วยสะสม จำนวน 617 ราย รักษาหาย 26 ราย สำหรับเทศบาลนครหาดใหญ่ พบว่ามีผู้ที่เดินทางกลับมาจาก ต่างประเทศและพื้นที่สี่ยง จำนวน 189 ราย ผู้ที่เดินทางกลับมาจากกรุงเทพ ฯ และปริมณฑล จำนวน606คน มีผู้ติด เชื้อจำนวน8 ราย ซึ่งจำเป็นจะต้องมีมาตรการป้องกันและควบคุมโรค ทั้งนี้ การเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติด เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Coronavius Disease 2019 (Covid 19) จำเป็นต้องมีการดำเนินการให้ความรู้ คำแนะนำ การดูแลเฝ้าระวังป้องกันตนเองให้กับประชาชนในเขตพื้นที่ ได้แก่ หน่วยบริการ สถานบริการหน่วยงานสาธารณสุข สถานประกอบการ สถานศึกษา ศูนย์เด็กเล็ก หน่วยราชการ ห้างสรรพสินค้า ชุมชน และบริการสาธารณะต่าง ๆ เขตใน พื้นที่ความรับผิดชอบของเทศบาลนครหาดใหญ่ สำนักการสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม มีความประสงค์จะดำเนิน โครงการป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโน 2019 (Coronavirus Disease 2019 (COVID-19) ซึ่งเป็นไป ตามอำนาจหน้าที่ 1) ตามพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 และที่แก้ไขเพิ่มเติม มาตรา 50 (4) มาตรา 53 และ มาตรา 55 2) พระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนกรกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 มาตรา 16 (19) เทศบาล องค์การบริหารส่วนตำบล และเมืองพัทยามีอำนาจหน้าที่ในการสาธารณสุข การอนามัย ครอบครัวและการรักษาพยาบาล 3) ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยค่าใช้จ่ายเพื่อช่วยเหลือประชาชนตามอำนาจ หน้าที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2560 หมวด 5 การป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ ข้อ 13 เมื่อเกิดโรคติดต่อ โรคติดต่ออันตราย โรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวัง หรือโรคระบาด หรือมีเหตุสงสัยว่าได้เกิดโรคดังกล่าวในเขตพื้นที่ขององค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นใด ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นนั้นดำเนินการหรือสนับสนุนให้มีการป้องกัน การควบคุม การแพร่ และการระงับการระบาดของโรคนั้น หรือสร้างภูคุ้มกันโรคให้กับผู้ที่มีภาวะเสี่ยง รวมทั้งการประชาสัมพันธ์ องค์ความรู้ เกี่ยวกับโรคติดต่อ การช่วยเหลือหน่วยงานของรัฐและเอกชนให้เกิดการปฏิบัติการตามโยบายและแผน การเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่อ ข้อ 14ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่เกิดโรคหรือมีเหตุสงสัยได้ว่าเกิดโรคตามช้อ 13 ประสานหน่วยงานที่รับผิดชอบดำเนินการป้องกัน การควบคุม การแพร่ และการระงับการระบาดของโรค โดยให้องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นร่วมดำเนินการหรือสนับสนุนการดำเนินการดังกล่าว ข้อ 15 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสามารถ เบิกจ่ายค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ ดังนี้ (1) ยา เวชภัณฑ์ และวัสดุที่ใช้ในการป้องกัน ควบคุมโรคติดต่อ เช่น ถุงมือยางหรือหนังผ้าปิดปากหรือปิดจมูก รองเท้ายางหุ้มสันสูงใต้เข่า (รองเท้าบู๊ต) หรือเสื้อกันฝน (2) เครื่องแต่งกายและอุปกรณ์ในการปฏิบัติงานของบุคลากรที่ปฏิบัติงานโดยคำนึงถึงความจำเป็น เหมาะสม และประหยัด4. หนังสือกระทรวงมหาดไทย ด่วนที่สุดที่ มท 0808.2/ว 1552 ลงวันที่ 16 มีนาคม 2563 เรื่อง แนวทางปฏิบัติในการควบคุมเพื่อสังเกตอาการของผู้เดินทางกลับจากประทศที่เป็นเขตโรคติดต่อหรือเป็นพื้นที่ ระบาดต่อเนื่อง กรณีโรคติดเชื้อไวรัส โคโรนา 2019 หรือโรคโควิด 19 4)หนังสือกระทรวงมหาดไทย ด่วนที่สุดที่ มท 0808.2/ว 1602 ลงวันที่ 17 มีนาคม 2563 เรื่อง ยกเว้นการใช้จ่ายเงินสะสมในการควบคุมเพื่อสังเกตอาการของ ผู้เดินทางกลับจากประเทศที่เป็นเขตโรคติดต่อหรือเป็นพื้นที่ระบาดต่อเนื่อง กรณีโรคติดเชื้อไวรัส โคโรนา 2019 (Coronavirus Disease 2019 (COVD 19) 5) หนังสือด่วนที่สุดที่ มท 0808.2/ว1727 ลงวันที่ 21 มีนาคม 2563 เรื่อง ซักซ้อมแนวทางปฏิบัติการใช้จ่ายงบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการป้องกัน และควบคุม โรคติดต่อ กรณีโรคติดเชื้อไวรัส โคโรนา 2019 หรือโรคโควิด 19 6) หนังสือจังหวัดสงขลา ด่วนที่สุด ที่ สข 0023.3/ ว2265 ลงวันที่ 25 มีนาคม 2563 เรื่อง หารือแนวทางปฏิบัติในการในการควบคุมเพื่อสังเกตของผู้เดินทางกลับ จากประเทศที่เป็นเขตโรคติดต่อหรือเป็นที่ระบาดต่อเนื่อง กรณีโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือโควิด 19 (Coronavirus Disease 2019 (COVD-19) 7) หนังสือจังหวัดสงขลา ด่วนที่สุด ที่ สข 0023.3/ว 2271 ลงวันที่ 25 มีนาคม 2563 เรื่อง คำสั่งจัดตั้งศูนย์บริการสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือโควิด 19 (Coronavrus Disease 2019 (COVID-19) หนังสือกระทรวงการคลัง ที่กค. (กวจ) 0405.2/ว115 ลงวันที่ 27 มีนาคม 2563 เรื่อง การดำเนินการกรณี การจัดซื้อยา เวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา หรืออุปกรณ์ทางการแพทย์หรือ การจัดจ้างเพื่อให้ได้มาซึ่งพัสดุสำหรับป้องกัน ควบคุมหรือรักษาโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือโควิด 19 (Coronavirus Disease 2019 (COVD 19) 9) หนังสือกระทรวงการคลัง ที่กค. (กวจ) 0433.2/ว120 ลงวันที่ 31 มีนาคม 2563 เรื่อง แนวทางการดำเนินการกรณี จัดซื้อจัจ้างเพื่อให้ได้มาซึ่งพัสดุสำหรับป้องกัน ควบคุมหรือรักษา โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือโควิด 19 (Coronavirus Disease 2019 (COVID-19)) 10) หนังสือจังหวัดสงขลา ด่วนที่สุด ที่ สข0023.3/ว 2441 ลงวันที่31 มีนาคม 2563 เรื่อง การจัดตั้งศูนย์กักกันหรือสังเกตอาการกลุ่ม ผู้ป่วยขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (Local Quarantine) มอบหมายให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทุกแห่ง เตรียมการจัดตั้งศูนย์กักกันหรือสังเกตอาการกลุ่มผู้ป่วยขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (Local Quarantine) เพื่อรองรับสถานการณ์โรคโควิด 19 ที่จะเกิดขึ้น โดยให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นประสานการดำเนินงานกับ นายอำเภอและสาธารณสุขอำเภอ 11) ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการรับเงิน การเบิกจ่ายเงิน การฝากเงิน การเก็บรักษาเงิน และการตรวจเงินขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ 2547 ข้อ 91 ภายใต้บังคับข้อ 89 ในกรณี ฉุกเฉินที่มีสาธารณภัยเกิดขึ้นให้ผู้บริหารท้องถิ่นอนุมัติให้จ่ายขาดเงินสะสมได้ตามความจำเป็นในขณะนั้น โดยให้ คำนึงถึงฐานะการเงิน การคลังขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นนั้น 12) ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัด จ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 ข้อ 79 วรรคสอง การซื้อหรือจ้างตามวรรคหนึ่ง ในกรณีที่มีความจำเป็น เร่งด่วนที่เกิดขึ้นโดยไม่ได้คาดหมายไว้ก่อน และไม่อาจดำเนินการตามปกติได้ทัน ให้เจ้าหน้าที่หรือผู้ที่รับผิดชอบใน การปฏิบัติงานนั้นดำเนินการไปก่อนแล้วรีบรายงานขอความเห็นชอบต่อหัวหน้าหน่วยงานของรัฐ และเมื่อหัวหน้า หน่วยงานของรัฐให้ความเห็นชอบแล้ว ให้ถือว่ารายงานดังกล่าวเป็นหลักฐานการตรวจรับโดยอนุโลม 13) ประกาศ คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่องหลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่นดำเนินงาน และการบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่( ฉบับที่ 3) พ.ศ 2563 14) หนังสือด่วน ที่สุดที่ มท 0808.2/ว 2120 ลงวันที่ 9 เมษายน 2563 เรื่องซักซ้อมแนวทางการใช้จ่ายงบประมาณขององค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นเพื่อช่วยเหลือประชาชน กรณีโรคติดเชื้อไวรัส โคโรนา 2019 หรือโรคโควิด 19

15)คำสั่งเทศบาลนครหาดใหญ่ ที่    /2563 ลงวันที่  เมษายน 2563 เรื่อง การจัดตั้งศูนย์กักกันหรือสังเกต อาการกลุ่มผู้ป่วยของเทศบาลนครหาดใหญ่ (Local Quarantine) ดังนั้น สำนักการสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม ซึ่งได้ตระหนักถึงความรุนแรงของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Coronavius Disease 2019(COv-19) ทั้งในทางตรงและทางอ้อม จึงได้จัดทำโครงการเฝ้าระวัง กักกันกลุ่มเสี่ยง จากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Coronavius Disease 2019 (COVID-19) เพื่อเฝ้าระวัง กักกันกลุ่มเสี่ยงที่ เดินทางมาจากต่างประเทศ กรุงเทพมหานครและปริมณฑล และจังหวัดอื่น ๆ รวมถึงการป้องกันการระบาดในพื้นที่จุด เสี่ยงในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเฝ้าระวังกักกันกลุ่มเสี่ยงที่เดินทางมาจากต่างประเทศ กรุงเทพมหานครและปริมณฑล และจังหวัดอื่น ๆ
  2. เพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของโรคในพื้นที่จุดเสี่ยง ในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่
  3. เพื่อให้มีทรัพยากร งบประมาณเพียงพอต่อการสนับสนุนการดำเนินงานเฝ้าระวัง สอบสวนและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (Coronavirus Disease 2019 (COVID-19)

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดซื้อวัสดุเครื่องแต่งกาย
  2. จัดซื้อครุภัณฑ์สำนักงาน
  3. จัดซื้อวัสดุงานบ้านงานครัว

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ลดการแพร่ระบาดของโรคติดไวรัสโคโรนา 2019 (Coronavirus Disease 2019 (COVID-19)
  2. ประชาชนในพื้นที่เทศบาลนครหาดใหญ่ สามารถป้องกันโรคติดเชื้อจากไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19) ได้
  3. การดำเนินงานตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขเป็นระบบ ขัดเจน และมีประสิทธิภาพ

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. จัดซื้อวัสดุเครื่องแต่งกาย

วันที่ 5 พฤศจิกายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

ชุดเสื้อ/กางเกง สำหรับกลุ่มเสี่ยง 50 ชุด

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เครื่องแต่งกายสำหรับกลุ่มเสี่ยง จำนวน 50 ชุด

 

0 0

2. จัดซื้อครุภัณฑ์สำนักงาน

วันที่ 5 พฤศจิกายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

 

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

 

 

0 0

3. จัดซื้อวัสดุงานบ้านงานครัว

วันที่ 4 ธันวาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

จัดซื้อวัสดุงานบ้านงานครัว

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-แปรงสีฟัน 50 อัน -ยาสีฟัน 50 หลอด -แชมพู 60 ลิตร -สบู่เหลว 60 ลิตร
-กระดาษทิชชู่ 5 แพค -น้ำยาปรับผ้านุ่ม 4 แกลลอน -น้ำยาซักผ้า 6 ถุง -น้ำดื่ม 50 แพ็ค -ขวดพลาสติกแบบปั๊ม 50 ใบ

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเฝ้าระวังกักกันกลุ่มเสี่ยงที่เดินทางมาจากต่างประเทศ กรุงเทพมหานครและปริมณฑล และจังหวัดอื่น ๆ
ตัวชี้วัด : กลุ่มเสี่ยงที่เดินทางมาจากต่างประเทศ กรุงเทพมหานครและปริมณฑล และจังหวัด อื่น ๆ ได้รับการกักตัวสังเกตุอาการ
0.00

 

2 เพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของโรคในพื้นที่จุดเสี่ยง ในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่
ตัวชี้วัด : มีการป้องกันการระบาดของโรคในพื้นที่จุดเสี่ยงในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่อย่างมีประสิทธิภาพ
0.00

 

3 เพื่อให้มีทรัพยากร งบประมาณเพียงพอต่อการสนับสนุนการดำเนินงานเฝ้าระวัง สอบสวนและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (Coronavirus Disease 2019 (COVID-19)
ตัวชี้วัด : การควบคุมการแพร่ระบาดของโรคมีประสิทธิภาพครอบคลุมทุกพื้นที่
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเฝ้าระวังกักกันกลุ่มเสี่ยงที่เดินทางมาจากต่างประเทศ กรุงเทพมหานครและปริมณฑล และจังหวัดอื่น ๆ (2) เพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของโรคในพื้นที่จุดเสี่ยง ในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ (3) เพื่อให้มีทรัพยากร งบประมาณเพียงพอต่อการสนับสนุนการดำเนินงานเฝ้าระวัง สอบสวนและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (Coronavirus Disease 2019 (COVID-19)

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดซื้อวัสดุเครื่องแต่งกาย (2) จัดซื้อครุภัณฑ์สำนักงาน (3) จัดซื้อวัสดุงานบ้านงานครัว

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


เฝ้าระวัง กักกันกลุ่มเสี่ยงจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (Coronavirus Disease 2019 (COVID-19) ประจำปีงบประมาณ 2563 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 63-L7258-5-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายณตฤณ เพ็ชรมี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด